fbpx

Life & Culture

26 Jan 2020

หมู่บ้านประเทศไทย กับปัญหาเรื่องเพศที่อยู่ถัดไปไม่กี่หลังคา

Sex Appear ตอนใหม่ ศุภาวรรณ คงสุวรรณ์ เล่าเรื่องเพศผ่านฉากต่างจังหวัดของประเทศไทย ที่ปัญหาท้องในวัยเรียน และความรุนแรงทางเพศเกิดขึ้นได้ใกล้ตัว

ศุภาวรรณ คงสุวรรณ์

26 Jan 2020

Art & Design

25 Jan 2020

#แก้ปัญหาแบบพัฒนาบูรณาการนวัตกรรมสอดคล้องสอดประสานทุนภาคส่วนคนละไม้คนละมือ

‘หัวนุ่ม’ ตอนใหม่ ว่าด้วยการแก้ปัญหาแบบพัฒนาบูรณาการนวัตกรรมสอดคล้องสอดประสานทุนภาคส่วนคนละไม้คนละมือ

วศิน ปฐมหยก

25 Jan 2020

Art & Design

24 Jan 2020

นิทรรศการศิลปะและชีวิตของ William Blake – Rebel, Radical, Revolutionary

สุนันทา วรรณสินธ์ เบล พาเดินชมนิทรรศการ สำรวจชีวิตของ วิลเลียม เบลก กวีและศิลปินผู้ต่อสู้เพื่อศิลปะที่ ‘ไม่เหมือนใคร’

สุนันทา วรรณสินธ์ เบล

24 Jan 2020

Thai Politics

23 Jan 2020

การเมืองเรื่องชื่อพรรค : ‘พลัง’ ฮิต ‘ประชาธิปไตย’ หด

อิสระ ชูศรี วิเคราะห์ชื่อพรรคการเมืองหลังทศวรรษ 2540 เป็นต้นมา ซึ่งสะท้อนถึงอุดมการณ์ทางการเมืองของพรรคการเมืองไทยอย่างมีนัยสำคัญ

อิสระ ชูศรี

23 Jan 2020

Books

23 Jan 2020

วรรณกรรมเกาหลี: ช่องว่างระหว่างมีและซอล เราได้ยินอะไร? (1)

จักรกริช สังขมณี เขียนถึง “มี ในเมษายน ซอล ในกรกฎาคม” หนังสือรวมเรื่องสั้น ที่จะสะท้อนการเปลี่ยนแปลงสำคัญในหน้าประวัติศาสตร์เกาหลีใต้ร่วมสมัย ในตอนแรกว่ากันด้วยสามเรื่องสั้นที่จะพาสำรวจประเด็น การศึกษา ความหลากหลายทางเพศ และการเปลี่ยนแปลงของเมืองผ่านร้านสะดวกซื้อ

จักรกริช สังขมณี

23 Jan 2020

Thai Politics

22 Jan 2020

ประชาธิปไตย เด็กหน้าห้อง เด็กหลังห้อง

คอลัมน์ Butterfly Effect ตอนที่ 3 พริษฐ์ วัชรสินธุ เปรียบ ‘ระบบเลือกตั้ง’ เป็นกติกาการเลือกตั้งหัวหน้าห้อง ที่หากเปลี่ยนกฎแล้วอาจทำให้ได้ผู้ชนะที่ต่างกันไป

พริษฐ์ วัชรสินธุ

22 Jan 2020

Trends

21 Jan 2020

จากเอไอถึงเอเลี่ยน: นี่คืออนาคตของพวกเราตลอดทศวรรษนี้

เอกศาสตร์ สรรพช่าง เขียนถึงเทรนด์ที่อาจเกิดขึ้นใน 10 ปีต่อจากนี้ ตั้งแต่เรื่องบทบาทของปัญญาประดิษฐ์ รถพลังงานไฮโดรเจน จำนวนประชากรโลก ควอนตัมคอมพิวเตอร์ ไปจนถึงการสำรวจอวกาศ

เอกศาสตร์ สรรพช่าง

21 Jan 2020

Social Problems

18 Jan 2020

หลักประกันสุขภาพที่รัก (50) : ตอนอวสาน

คอลัมน์ ‘หลักประกันสุขภาพที่รัก’ ตอนสุดท้าย นายแพทย์ประเสริฐ  ผลิตผลการพิมพ์ รำลึกถึงนายแพทย์สงวน นิตยารัมภ์พงศ์ ต้นธารของระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า

ประเสริฐ ผลิตผลการพิมพ์

18 Jan 2020

Thai Politics

17 Jan 2020

จุดตั้งต้นการปกครองระบอบพระมหากษัตริย์ภายใต้รัฐธรรมนูญของไทย (ตอนจบ)

ศุภมิตร ปิติพัฒน์ เปิดรายงานวิจัยตอนที่ 6 ว่าด้วยเอกสารพระราชหัตถเลขาสละราชสมบัติของรัชกาลที่ 7 และการประสานความไม่ลงรอยในรัฐธรรมนูญ 2489

ศุภมิตร ปิติพัฒน์

17 Jan 2020

Art & Design

16 Jan 2020

นิทรรศการ Future and the Arts : ศิลปะ x นวัตกรรม จะพามนุษย์ไปสู่จุดใดในวันพรุ่งนี้?

Eyedropper Fill เขียนถึง Future and the Arts: AI, Robotics, Cities, Life – How Humanity Will Live Tomorrow พื้นที่รวบรวมและจัดแสดง ‘นวัตกรรม’ ที่กำลังพามวลมนุษยชาติไปข้างหน้า ผสานกับ ‘ศิลปะ’

อายดรอปเปอร์ ฟิลล์

16 Jan 2020

Trends

16 Jan 2020

โลกร้อนอาจทำให้เราโง่ลง: เมื่อคาร์บอนไดออกไซด์ส่งผลกับสมอง

คอลัมน์ Trend Rider สัปดาห์นี้ โตมร ศุขปรีชา ชวนสำรวจปริมาณคาร์บอนไดออกไซด์บนโลกทั้งในอาคารและนอกอาคาร อากาศแย่อาจส่งผลกับสมองเรามากกว่าที่คิด

โตมร ศุขปรีชา

16 Jan 2020

World

14 Jan 2020

Social Democracy นอร์เวย์และสวีเดน : จากมุมมองโครงสร้างครอบครัว

ปรีดี หงษ์สต้น เขียนถึงการเปลี่ยนผ่านของประเทศในยุโรปที่เป็นสังคมประชาธิปไตย ผ่านมุมมองเรื่องโครงสร้างครอบครัวและระบบสังคมของ ‘เอมมานูเอล ตอดด์’ – นักประชากรศาสตร์

ปรีดี หงษ์สต้น

14 Jan 2020
1 45 46 47 85

MOST READ

Phenomenon

11 Apr 2024

จาก ‘หลานม่า’ ถึงปรากฏการณ์ผู้สูงวัยใน TikTok : caregiver และการออกแบบ ‘วาระสุดท้าย’ ในทางสังคม

คอลัมน์ ‘Phenomenon’ สัปดาห์นี้ โตมร ศุขปรีชา พาสำรวจปรากฏการณ์ ‘หลานม่า’ และผู้สูงวัยใน Tik Tok สะท้อนเรื่องการดูแลผู้สูงอายุซึ่งถูกผลักให้เป็นเพียงเรื่องของปัจเจกและความกตัญญู จุดประเด็นให้มีการจัดการทางสังคมแบบใหม่เพื่อออกแบบ ‘วาระสุดท้าย’ ให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงสู่สังคมผู้สูงอายุ

โตมร ศุขปรีชา

11 Apr 2024

My Voice

10 Apr 2024

ระบอบทักษิณ-ระบอบประยุทธ์ จุดเริ่มต้นแตกต่าง ปลายทางเดียวกัน

ประทีป คงสิบ ชวนมองเปรียบเทียบ ‘ระบอบทักษิณ’ กับ ‘ระบอบประยุทธ์’ จากจุดเริ่มต้นที่แตกต่าง แต่ปลายทางกลับมีจุดหมายเดียวกัน

ประทีป คงสิบ

10 Apr 2024

US

5 Apr 2024

ภาวะ ‘เขาควาย’ (dilemma) ของโจ ไบเดน: ความอับจนของมหาอำนาจต่อหน้าการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์

ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ วิเคราะห์การเผชิญหน้าของสหรัฐฯ ต่อสองวิกฤตการเมืองโลกคือ รัสเซีย-ยูเครน และ ฮามาส-อิสราเอล ภายใต้การนำของโจ ไบเดน ที่ตอบสนองต่อสองเรื่องนี้ในทิศทางตรงกันข้าม

ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ

5 Apr 2024

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save