fbpx

World

23 May 2023

เมื่อความบังเอิญสร้างปาฏิหาริย์

ศุภมิตร ปิติพัฒน์ เขียนถึงที่ทางของ ‘ปาฏิหาริย์’ และ ‘ความบังเอิญ’ ในความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ และอะไรคือนัยสำคัญของแนวคิดทั้งสองในการทำความเข้าใจประวัติศาสตร์การเมืองไทย เพื่อสนทนากับหนังสือ “ปาฏิหาริย์นั้นมีจริง : ความบังเอิญของไทยในการเอาตัวรอดจากอังกฤษหลังสงครามโลกครั้งที่ 2”

ศุภมิตร ปิติพัฒน์

23 May 2023

Global Affairs

8 Dec 2022

คิสซินเจอร์กับ Post-Negotiation

ศุภมิตร ปิติพัฒน์เขียนถึงวิธีคิดเกี่ยวกับเจรจาต่อรองของเฮนรี คิสซินเจอร์ นักการทูตชื่อดังที่มีบทบาทสำคัญในการเจรจาระหว่างสหรัฐฯ กับจีนในยุคสงครามเย็น

ศุภมิตร ปิติพัฒน์

8 Dec 2022

US

18 Jul 2022

เรียนฐานคิดของเสรีนิยม (ไม่ใหม่) จากงานของนักรัฐศาสตร์รัฐธรรมนูญอเมริกัน Vincent Ostrom (1919-2012)

ศุภมิตร ปิติพัฒน์ ชวนอ่านฐานคิดของ ‘เสรีนิยม’ ในการเมืองระหว่างประเทศผ่านงานเขียนของ Vincent Ostrom นักรัฐศาสตร์รัฐธรรมนูญอเมริกันผู้เลื่องชื่อ

ศุภมิตร ปิติพัฒน์

18 Jul 2022

World

7 Jun 2022

วิชาเลือกเสรี

ศุภมิตร ปิติพัฒน์ เขียนถึงศิลปศาสตร์ของผู้นำทางการเมือง ซึ่งเกี่ยวโยงถึง 3 วิธีอ่านหนังสือการเมืองการปกครองไทย: พัฒนาการทางประวัติศาสตร์ (พ.ศ. 2475 – 2540) ของภูริ ฟูวงศ์เจริญ

ศุภมิตร ปิติพัฒน์

7 Jun 2022

Global Affairs

5 Aug 2021

ตามแนวคิด-ต่อทฤษฎี จากงานการต่างประเทศไทยของพีระ เจริญวัฒนนุกูล (ตอนที่ 1)

ศุภมิตร ปิติพัฒน์ชวนอ่านแนวคิด ‘ความมั่นคงเชิงภวสภาพ’ ที่มองว่าปัญหาความมั่นคงของรัฐเชื่อมโยงกับแผลในใจของสังคมที่รู้สึกว่าเกียรติภูมิของประเทศชาติบ้านเมืองของตนถูกกระทบกระทั่งโดยอำนาจภายนอกที่เหนือกว่าเข้ามาบังคับ

ศุภมิตร ปิติพัฒน์

5 Aug 2021

World

16 Jul 2021

ทฤษฎีไขปัญหา ไขปัญหาทฤษฎี

ศุภมิตร ปิติพัฒน์เขียนถึง ‘ทฤษฎีไขปัญหา’ ในวิชาไออาร์ ซึ่งเป็นคู่แข่ง ‘ทฤษฎีเชิงวิพากษ์’ ที่กำลังมีอิทธิพลในหมู่นักเรียนไออาร์รุ่นใหม่

ศุภมิตร ปิติพัฒน์

16 Jul 2021

Social Issues

4 Jun 2021

ก่อนออกไปสู่โลกความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ

ศุภมิตร ปิติพัฒน์ชวนอ่าน ‘ข้อคิดสุดท้าย’ ที่เคยให้แก่นิสิตสาขาวิชาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ก่อนที่จะออกไปทำงานในโลกจริง

ศุภมิตร ปิติพัฒน์

4 Jun 2021

Thai Politics

13 Oct 2020

ไปเป็นอนุรักษนิยมไทยในวงอ่านหนังสือ

ศุภมิตร ปิติพัฒน์ เล่าถึงประสบการณ์จากกลุ่มอ่านหนังสือที่เพื่อนสมาชิกคาดหวังให้เขาแสดงความเห็นในฐานะอนุรักษนิยมไทย และยืนยันว่าการกลับไปอ่านงานของอนุรักษนิยมไทยคือหนทางเดียวในการทำความรู้จักพวกเขา

ศุภมิตร ปิติพัฒน์

13 Oct 2020

Global Affairs

11 Sep 2020

อ่านภาษาการต่างประเทศ

ศุภมิตร ปิติพัฒน์ ชวนอ่านการใช้ภาษาในการต่างประเทศ ซึ่งเป็นเครื่องมือสำคัญในการกำหนดบรรยากาศและตรรกะวิธีคิดในเจรจาทางการทูต การกำหนดนโยบายต่างประเทศ และยุทธศาสตร์ความมั่นคง

ศุภมิตร ปิติพัฒน์

11 Sep 2020

Thai Politics

10 Jul 2020

วูดโรว์ วิลสันกับความโหดร้ายของประวัติศาสตร์

ศุภมิตร ปิติพัฒน์เขียนถึงกรณีการปลดชื่อประธานาธิบดี ‘วูดโรว์ วิลสัน’ ออกจาก ‘Woodrow Wilson School of Public and International Affairs’ เพื่อตั้งคำถามว่า เราควรกลับไปแก้ ‘ประวัติศาสตร์สีดำ’ ให้ถูกต้องกับคุณค่าปัจจุบัน หรือ เปิดรับสิ่งเลวร้ายที่เกิดขึ้นไว้เป็นความทรงจำร่วมกันของสังคม

ศุภมิตร ปิติพัฒน์

10 Jul 2020

Thai Politics

11 Jun 2020

ชวนอ่านแนววิเคราะห์รัฐและทุนนิยมไทยในงานของ ไกรศักดิ์ ชุณหะวัณ

ศุภมิตร ปิติพัฒน์ ชวนอ่านแนววิเคราะห์ รัฐและทุนนิยมไทยในงานของ ไกรศักดิ์ ชุณหะวัณ อีกครั้ง ทั้งในฐานะ ‘ปฏิบัติการทางปัญญา’ แห่งยุคสมัย และในฐานะบทวิเคราะห์เศรษฐกิจการเมืองไทย ซึ่งพลิกผันปั่นป่วนอย่างต่อเนื่องนับตั้งแต่หลายทศวรรษก่อนจนถึงปัจจุบัน

ศุภมิตร ปิติพัฒน์

11 Jun 2020

Global Affairs

14 Apr 2020

รัฐวิเคราะห์ในการศึกษานโยบายต่างประเทศ

ศุภมิตร ปิติพัฒน์ เขียนถึงทฤษฎีรัฐวิเคราะห์ในทฤษฎีการเมืองระหว่างประเทศ จากข้อจำกัดของทฤษฎีแบบดั้งเดิม ไปจนถึงแว่นตาของนักวิชาการปัญญาชนฝ่ายซ้ายที่เผยให้เห็นถึงความซับซ้อนที่ซ่อนอยู่ภายใต้อำนาจรัฐและกลไกอำนาจรัฐ

ศุภมิตร ปิติพัฒน์

14 Apr 2020

Global Affairs

16 Mar 2020

ย้อนทางอ่าน ทางอ่านย้อน

ศุภมิตร ปิติพัฒน์ เสนอวิธี ‘อ่านย้อนรอย’ จากงาน Common Sense ของ โธมัส เพน เพื่อชวนคิดถึงพลวัตและกระบวนการทางประวัติศาสตร์ของ ‘ฝ่ายก้าวหน้า’ และปัญหาการเปลี่ยนผ่านสู่ระบอบใหม่

ศุภมิตร ปิติพัฒน์

16 Mar 2020

Thai Politics

17 Jan 2020

จุดตั้งต้นการปกครองระบอบพระมหากษัตริย์ภายใต้รัฐธรรมนูญของไทย (ตอนจบ)

ศุภมิตร ปิติพัฒน์ เปิดรายงานวิจัยตอนที่ 6 ว่าด้วยเอกสารพระราชหัตถเลขาสละราชสมบัติของรัชกาลที่ 7 และการประสานความไม่ลงรอยในรัฐธรรมนูญ 2489

ศุภมิตร ปิติพัฒน์

17 Jan 2020
1 2 3

RECOMMENDED

Phenomenon

8 Mar 2024

นรกบนท้องถนน : ทำไมมารยาทในการใช้รถใช้ถนนจึงทรามลง

คอลัมน์ ‘Phenomenon’ สัปดาห์นี้ โตมร ศุขปรีชา พาสำรวจสาเหตุของความเกรี้ยวกราดบนท้องถนน ซึ่งมีที่มาซับซ้อนกว่าเพียงแค่พฤติกรรมส่วนบุคคล แต่เกี่ยวโยงไปถึงรูปแบบการสร้างเมืองและสายสัมพันธ์ทางสังคม

โตมร ศุขปรีชา

8 Mar 2024

Phenomenon

1 Mar 2024

Harm Reduction : วิธีมีชีวิตร่วมกับนักเสพติด

คอลัมน์ ‘Phenomenon’ สัปดาห์นี้ โตมร ศุขปรีชา พาสำรวจแนวทางการลดอันตรายที่เกิดจากการใช้สารเสพติด (Harm Reduction) เปิดประเด็นสู่ความเป็นไปได้ใหม่ๆ ในการแก้ปัญหาอย่างยั่งยืน

โตมร ศุขปรีชา

1 Mar 2024

policy praxis

18 Feb 2024

เป็นผู้หญิง-แก่-อ้วน-หน้าตาไม่ดี-มีลูก ต้องเสียเปรียบในการทำงาน?: สำรวจสารพัดหลักฐานว่าด้วยการเลือกปฏิบัติในตลาดแรงงาน

ปิยาพัชร สินทรัพย์ และฉัตร คำแสง ชวนอ่านหลักฐานทางวิชาการว่าด้วยการเลือกปฏิบัติและกีดกันในการทำงาน ที่ทำให้ผู้หญิงต้องเจ็บซ้ำเจ็บซ้อน

ปิยาพัชร สินทรัพย์

18 Feb 2024