Public Policy
Public Policy
Filter
Sort
หน่วยงานกำกับดูแลไทย: ไม่โปร่งใส ไม่มีกลไกรับผิดรับชอบ ไม่มีประสิทธิผล?
101 PUB ชวนสำรวจปัญหาการกำกับดูแลการแข่งขันทางการค้า และหาหนทางการยกระดับหน่วยงานกำกับดูแลให้สามารถรักษาการแข่งขันที่เสรีและเป็นธรรมได้
กษิดิ์เดช คำพุช
10 Dec 2024ขับเคลื่อนพลังงานสะอาดแบบไทยๆ ทำค่าไฟแพงแบบเทียมๆ
การเปลี่ยนผ่านสู่ไฟฟ้าสะอาด ควรทำให้ไฟฟ้าไทยยั่งยืน คุ้มค่า และมั่นคงมากขึ้น แต่การขับเคลื่อนแบบไทยๆ ประชาชนจะไม่ได้รับประโยชน์เท่าที่ควร
ฉัตร คำแสง
6 Dec 2024From New Fair Game to New Fair World: ปรับมุมมองเศรษฐกิจไทย สร้างโลกการแข่งขันที่เปิดกว้างและเป็นธรรม
วันโอวันชวนอ่านเก็บความบางส่วนจากงานเสวนาโต๊ะกลม ‘New Fair Game: โลกใหม่ของการแข่งขันที่เป็นธรรม’ ร่วมหารือข้อเสนอเชิงนโยบายเพื่อนำไปสู่การปฏิรูปการกำกับการแข่งขันที่จะกระทบต่อรากฐานเศรษฐกิจไทยในระยะยาว
กองบรรณาธิการ
5 Dec 2024Quick win แล้วสิ้นใจ?: ประคับประคองศูนย์ชีวาภิบาลอย่างไรให้อยู่รอด?
นโยบายชีวาภิบาลกำลังเผชิญปัญหารอบด้านเพราะการเร่งทำให้ถึงเป้าหมาย quick win 100 วันแรก คิด for คิดส์ ชวนอ่านความท้าทายของนโยบายตายดีที่กำลังจะตายเสียเอง
พิชชากร เรืองเดชาวิวัฒน์
22 Nov 2024ตรวจก่อนเข้าปาก ย้อนถึงแปลงปลูก: ยกระดับความปลอดภัยอาหารด้วยการตรวจสอบย้อนกลับ
ภายหลังจากที่ตรวจพบสารพิษตกค้างในองุ่นไชน์มัสแคท คนไทยต่างกังวลต่อความปลอดภัยของอาหารที่บริโภคกันทุกวัน สิ่งนี้นำมาสู่คำถามว่าระบบการตรวจคุณภาพอาหารตามท้องตลาดของไทยมีข้อบกพร่องอย่างไร? และจะทำอย่างไรที่จะยกระดับอาหารในประเทศไทยให้ปลอดภัยขึ้น?
สรัช สินธุประมา
11 Nov 2024น้ำท่วม 2567: เชียงใหม่ที่ผมไม่เคยเห็น
ณัฐกร วิทิตานนท์ ชวนถอดบทเรียนสถานการณ์น้ำท่วมใหญ่ในพื้นที่ภาคเหนือ เพื่อสะท้อนให้เห็นถึงปัญหาในระดับโครงสร้างของรัฐไทย
ณัฐกร วิทิตานนท์
3 Nov 2024‘อุทกภัย’ สัญญาณเตือนวิกฤตสิ่งแวดล้อมครั้งใหญ่จากธรรมชาติ กับ เพียรพร ดีเทศน์
101 สนทนากับ เพียรพร ดีเทศน์ เพื่อวิเคราะห์ปัญหาการจัดการภัยพิบัติภายใต้สถานการณ์ ‘อุทกภัย’ และการจัดการน้ำที่มีประสิทธิภาพของรัฐบาลไทย
กองบรรณาธิการ
30 Oct 2024‘สินค้าต่างชาติทะลัก การกำกับดูแลอ่อนแอ’ เมื่อทุนนอกรุกทุนไทย แข่งขันอย่างไรให้อยู่รอด
จากทัวร์ศูนย์เหรียญ สู่แอปฯ TEMU เมื่อทุนนอกรุกทุนไทยอย่างหนักหน่วง ไทยจะหาทางออกอย่างไร? 101 พาไปหาคำตอบจากวงเสวนา ‘Fair game ทุนนอกกินทุนไทย แข่งกันยังไงให้อยู่รอด’ จัดโดย กมธ.พัฒนาเศรษฐกิจ
เพ็ญพิชชา มุ่งงาม
30 Oct 2024ปรึกษาหัวใจกับใครก็เหมือนกัน? แนวทางกำกับมาตรฐานนักจิตวิทยาการปรึกษา-จิตบำบัดอย่างสมดุล
ปัญหาการอวดอ้างชื่อและละเมิดผู้รับบริการ เรียกร้องให้ต้องกำกับนักจิตวิทยาการปรึกษา-จิตบำบัด แต่การสร้างมาตรฐานให้การดูแลหัวใจอาจไม่ง่ายอย่างที่คิด
สรัช สินธุประมา
25 Oct 2024กรุงเทพเมืองอยุติธรรม: บ้านราคาเอื้อมถึง(?)ถูกผลักสู่ชานเมือง คนถูกขับสู่ชายขอบ
101 PUB ชวนสำรวจว่าบ้านคนกรุงเทพฯ ถูกเบียดขับออกไปไกลแค่ไหน พื้นที่ใจกลางเมืองกับชานเมืองมีความเหลื่อมล้ำในการเข้าถึงแหล่งงาน บริการสาธารณะ และโอกาสกันอย่างไร แล้วรัฐบาลควรดำเนินนโยบายแบบไหนเพื่อสร้างกรุงเทพฯ ให้เข้าถึงได้และเป็นธรรมยิ่งขึ้นสำหรับทุกคน
วรดร เลิศรัตน์
7 Oct 2024เปลี่ยนการจัดซื้อภาครัฐ ให้กลายเป็นการลงทุนและเติบโตระยะยาวของประเทศ: บทเรียนจากมาตรการชดเชย (Offset Policy)
แบ๊งค์ งามอรุณโชติ เสนอแนวทางการสร้างการลงทุนและการเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศด้วยการใช้มาตรการชดเชย (offset policy) ในการจัดซื้อภาครัฐ
แบ๊งค์ งามอรุณโชติ
30 Sep 2024กยศ. จะถังแตกใน 3 เดือน!?: ปัญหาเงินสดหมดกองทุน และหนทางเอาตัวรอด
101 PUB ชวนสำรวจ วิกฤตสภาพคล่องของ กยศ. ว่าจะถังแตกในเดือนธันวาคมนี้จริงหรือไม่?พร้อมทั้งดูว่างบช่วยเหลือจากสภาฯ เพียงพอต่อ กยศ. ไม่ให้ถังแตกได้หรือไม่?
กษิดิ์เดช คำพุช
30 Sep 2024ความเสี่ยงซึมเศร้า ติดตัวเรามาตั้งแต่เกิด?
ความเข้มแข็ง/อ่อนแอ ในจิตใจคนเราเริ่มขึ้นตั้งแต่เมื่อไหร่ เราฝึกฝนกำหนดใจเราเองได้แค่ไหน?นโยบายรัฐควรมีบทบาทอย่างไรกับปัจจัยที่เกินการควบคุมของปัจเจกบุคคล?
สรัช สินธุประมา
26 Sep 2024อย่าเห็น ‘คน’เป็นแค่ ‘สัตว์เศรษฐกิจ’ : ว่าด้วยนโยบายการศึกษาแบบสายพานการผลิต
คอลัมน์ ‘Phenomenon’ สัปดาห์นี้ โตมร ศุขปรีชา ชวนตั้งคำถามว่า นโยบายการศึกษาของรัฐบาลมุ่งเน้นตอบสนองต่อตลาดแรงงาน โดยละเลยมิติของการ ‘สร้างคนให้เป็นคน’ หรือเปล่า?
โตมร ศุขปรีชา
20 Sep 2024ส่องงบ Upskill คนไทยในร่างงบปี 68
101 PUB ชวนส่งงบพัฒนาทักษะจาก ร่าง พ.ร.บ.งบ 68 ว่าน้อยเกินไปหรือไม่ ? มีความซ้ำซ้อน – ไร้ประสิทธิภาพอย่างไร?
กษิดิ์เดช คำพุช
17 Sep 2024งบบริหารจัดการน้ำ: จัดสรรกันอย่างไร จะแก้น้ำท่วม/แล้งได้ไหม?
ไทยจัดสรรงบประมาณสำหรับบริหารจัดการน้ำกว่าหนึ่งแสนล้านบาทต่อปี ทว่าเมื่อเข้าฤดูฝนครั้งใดก็ปรากฎว่ายังคงเกิดอุทกภัยบ่อยครั้ง ชวนให้ตั้งคำถามว่าขณะที่น้ำไหลอยู่ที่นั่น งบประมาณไหลไปที่ไหน?