Asean
สำรวจภูมิภาคอาเซียน ภูมิภาคที่เต็มไปด้วยความหลากหลาย ทั้งในแง่การเมือง เศรษฐกิจ และสังคมวัฒนธรรม
Filter
Sort
เส้นสมมติสาละวิน : ชายแดนชีวิตผู้ลี้ภัยกะเหรี่ยง
ปาณิส โพธิ์ศรีวังชัย และเมธิชัย เตียวนะ ลงพื้นที่สำรวจริมแม่น้ำสาละวินที่บ้านแม่สามแลบ ใกล้บริเวณค่ายผู้อพยพชาวกะเหรี่ยง ที่หนีจากเหตุการณ์สู้รบระหว่าง KNU และทหารพม่า


ปาณิส โพธิ์ศรีวังชัย
22 Apr 2021ท่าทีอาเซียน ก่อนการประชุมสุดยอดนัดพิเศษกรณีเมียนมา
ปิติ ศรีแสงนาม วิเคราะห์การประชุมสุดยอดผู้นำอาเซียนนัดพิเศษ ที่จะจัดขึ้นในวันที่ 24 เมษายน เกี่ยวกับกรณีรัฐประหารเมียนมา


ปิติ ศรีแสงนาม
22 Apr 2021ประชาคมโลกจะรับผิดชอบในการคุ้มครองพม่าอย่างไร?
สุภลักษณ์ กาญจนขุนดี เขียนถึงมาตรการจากประชาคมโลก ที่จะช่วยเหลือประชาชนชาวพม่า จากการปราบปรามของรัฐบาลทหารพม่า ซึ่งอาจไม่ได้จบแค่การคว่ำบาตรหรือออกแถลงการณ์เท่านั้น


สุภลักษณ์ กาญจนขุนดี
22 Apr 2021ผ่าความคิดชาติพันธุ์กะเหรี่ยง กลางไฟขัดแย้ง รัฐประหาร และการลี้ภัย กับ จิราพร เหล่าเจริญวงศ์
101 คุยกับ ดร.จิราพร เหล่าเจริญวงศ์ เพื่อเจาะลึกมุมมองชาติพันธุ์ต่างๆ โดยเฉพาะกะเหรี่ยง ที่มีต่อการรัฐประหารพม่า พร้อมมองลึกถึงชีวิตกลางไฟความขัดแย้งเรื้อรังใต้การปกครองของกองทัพพม่า สู่ชีวิตผู้ลี้ภัยในรั้วแดนไทย


วงศ์พันธ์ อมรินทร์เทวา
20 Apr 2021เวียดนามยุคที่ 15: ก้าวที่ท้าทายและฝันอันทะเยอทะยาน
สุริยะ สว่างทองคำ เล่าถึงการเปลี่ยนผ่านผู้นำของเวียดนาม 4 ตำแหน่งหลัก จากสมัยที่ 14 สู่สมัยที่ 15 ซึ่งมีส่วนสำคัญยิ่งในการกำหนดทิศทางอนาคตเวียดนาม ท่ามกลางโลกที่กำลังผันผวน
สุริยะ สว่างทองคำ
8 Apr 2021ASEAN บ่มีไกด์ Ep.1 : “เกณฑ์ทหารจำเป็นอยู่มั้ย?” ไปฟังคนสิงคโปร์เขาเถียงกัน
ASEAN บ่มีไกด์ พาทุกคนไปเดินทางไปที่สิงคโปร์ เพื่อไปแอบฟังกันว่าคนสิงคโปร์เถียงเรื่องการเกณฑ์ทหารกันอย่างไร


วงศ์พันธ์ อมรินทร์เทวา
7 Apr 2021‘1 ปี Milk Tea Alliance’ กับวาสนา วงศ์สุรวัฒน์
101 ชวน วาสนา วงศ์สุรวัฒน์ อาจารย์ประจำภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คุยถึงการเคลื่อนไหวตลอด 1 ปีที่ผ่านมาของ Milk Tea Alliance พร้อมมองทิศทางการต่อสู้เพื่อประชาธิปไตยในภูมิภาค


กองบรรณาธิการ
30 Mar 2021112 ปีของสนธิสัญญาแองโกล-สยาม: จากมุมของสี่รัฐมลายู กลันตัน ตรังกานู เคดะห์ และเปอร์ลิส
เนื่องในโอกาสครบรอบ 112 ปี สนธิสัญญาแองโกล-สยาม 1909 อรอนงค์ ทิพย์พิมล ชวนทบทวนความสัมพันธ์ของสี่รัฐมลายูกับสยามก่อนปี 1909 และฉายภาพมุมมองของสี่รัฐมลายูที่มีต่อสนธิสัญญาดังกล่าว


อรอนงค์ ทิพย์พิมล
18 Mar 2021การรัฐประหารเพื่อความมั่นคงของตัดมาดอว์
สุภลักษณ์ กาญจนขุนดี ไล่เรียงถึงเหตุและผลว่าทำไมกองทัพพม่าจึงไม่ถอนตัวจากการเมืองเสียที และชวนทำความเข้าใจวิธีคิดเบื้องหลังการรัฐประหารพม่า 2021 ของทหาร


สุภลักษณ์ กาญจนขุนดี
10 Mar 2021“ถึงสำนักข่าวจะต้องถูกปิด เราก็ไม่ยอมทรยศหน้าที่ตัวเอง” เปิดใจสื่อพม่าในห้วงเวลารัฐประหาร
วงศ์พันธ์ อมรินทร์เทวา คุยกับ ส่วย วิน บ.ก.สำนักข่าว Myanmar Now ถึงการทำงานของสื่อพม่าที่ยังคงยืนหยัดจรรยาบรรณวิชาชีพตัวเองอย่างแข็งแกร่ง แม้จะกำลังถูกคุกคามอย่างหนักหน่วงภายใต้การรัฐประหาร


วงศ์พันธ์ อมรินทร์เทวา
8 Mar 2021หนึ่งเดือนหลังรัฐประหารพม่า: ประวัติศาสตร์จะซ้ำรอย หรือยังมีความหวังรออยู่?
101 เก็บความจากงานเสวนา PBIC ปิ่นโต Talk “พม่า จีน ไทย ใช่ไกลอื่น: 1 เดือนหลังรัฐประหารพม่า” – ทิศทางและสถานการณ์ที่อาจจะเกิดขึ้นในอนาคตจะเป็นอย่างไร มหาอำนาจต่างๆ น่าจะมีท่าทีอย่างไร และอภิปรายถึงอนาคตของพม่าหลังการทำรัฐประหารครั้งนี้


กานต์ธีรา ภูริวิกรัย
2 Mar 2021เป็นทหารทำไมรวยจัง?: ทหารอินโดนีเซียกับธุรกิจตั้งแต่ประกาศเอกราชจนถึงปัจจุบัน
อรอนงค์ ทิพย์พิมล ชวนสำรวจความสัมพันธ์ของทหารอินโดนีเซียกับการทำธุรกิจ ตั้งแต่ช่วงหลังประกาศเอกราชจนถึงปัจจุบัน เพื่อตอบคำถามว่า “เป็นทหาร (อินโดนีเซีย) ทำไมรวยจัง?”


อรอนงค์ ทิพย์พิมล
21 Feb 2021ฟังเสียงกระซิบในร้านน้ำชาพม่า กับ สุภัตรา ภูมิประภาส
101 ชวน สุภัตรา ภูมิประภาส นักแปล และอดีตนักข่าวที่ทำงานเกี่ยวกับพม่ามาตั้งแต่ปี 1988 มาพูดคุยเรื่องพม่าในเชิงวัฒนธรรมและผู้คน เพื่อทำความรู้จักพม่าในมุมที่อาจไม่เคยเห็น


ปาณิส โพธิ์ศรีวังชัย
19 Feb 2021เมื่อการเมืองเมียนมาใกล้ถึงทางตัน และไทยอาจจะเป็นกุญแจสำคัญในการหาทางออก
ปิติ ศรีแสงนาม เขียนถึงการรัฐประหารเมียนมาและคาดการณ์ฉากทัศน์ที่อาจเกิดขึ้นได้ในอนาคต พร้อมทั้งเสนอบทบาทของไทยในฐานะตัวกลางการเจรจา


ปิติ ศรีแสงนาม
17 Feb 2021‘ปฏิวัติพม่า : ทหาร Vs ประชาชน’ กับ สุภลักษณ์ กาญจนขุนดี
101 ชวน สุภลักษณ์ กาญจนขุนดี อดีตบรรณาธิการบริหารหนังสือพิมพ์ The Nation และนักวิจัยอิสระที่ทำงานประเด็นเรื่องอาเซียนมาพูดคุยว่าด้วยพม่าทั้งในทางการเมืองและวัฒนธรรม

