Education
เปิดโลกการเรียนรู้หลากมิติ ทั้งในเชิงโครงสร้างใหญ่ ระบบการศึกษา และการพัฒนาคุณภาพเด็กและเยาวชน
Filter
Sort
เปิดสถิติเรียนพิเศษนักเรียนไทย: เมื่อโรงเรียนไม่อาจพาเด็กไปถึงฝั่ง
คิด for คิดส์สำรวจสถิติการเรียนพิเศษของนักเรียนไทย จำนวน 12,999 คน จากข้อมูลการสำรวจเยาวชนไทย 2022 ที่มุ่งสำรวจความรับรู้ คุณค่า และทัศนคติของเยาวชนไทย ซึ่งรวมไปถึงประเด็นด้านการศึกษาและการเรียนพิเศษ

สรวิศ มา
19 Jan 2023เปลี่ยนการเรียนการสอบนิติศาสตร์ ด้วยกระดาษ A4 หนึ่งใบ
สมชาย ปรีชาศิลปกุล ชวนคิดถึงการเปลี่ยนรูปแบบการประเมินความรู้ความสามารถของนักเรียนกฎหมาย โดยแนวทางที่เขาทดลองเริ่มต้นด้วยกระดาษ A4 หนึ่งใบ

สมชาย ปรีชาศิลปกุล
17 Jan 2023101 In Focus Ep.161: ดราม่า ‘งานวิชาการ’ และวิบากกรรมของนักวิชาการไทย
ชวนอ่านบทความว่าด้วยเรื่องราวในวงวิชาการ ทั้งเรื่องการขอตำแหน่ง ระบบตีพิมพ์ผลงานในวารสาร การออกแบบระบบในมหาวิทยาลัย ไปจนถึงช่องโหว่ของกฎหมายอาญาไทย กรณีการซื้อผลงานทางวิชาการ เพื่อทำความเข้าใจสภาพของวงวิชาการไทยมากขึ้น

กองบรรณาธิการ
13 Jan 2023ช่องโหว่ของกฎหมายอาญาไทย กรณีการซื้อผลงานทางวิชาการ
ดิศรณ์ ลิขิตวิทยาวุฒิ วิเคราะห์กรณีการซื้อผลงานทางวิชาการว่าอาจไม่สามารถเอาผิดตามกฎหมายอาญาได้ เนื่องจากช่องโหว่ของกฎหมายไทย

ดิศรณ์ ลิขิตวิทยาวุฒิ
11 Jan 2023เราจะทำอย่างไรให้อาจารย์มหาวิทยาลัยไม่ต้องขายวิญญาณ
เข็มทอง ต้นสกุลรุ่งเรือง ชวนสนทนาต่อจากบทความ ‘คู่มือขายวิญญาณ’ ของสมชาย ปรีชาศิลปกุล ที่ชี้ให้เห็นปัญหาของระบบการขอตำแหน่งวิชาการ

เข็มทอง ต้นสกุลรุ่งเรือง
11 Jan 2023แรงงาน ยศช้าง และขุนนางวิชาการ: กระบวนการทำให้เป็นราชการในบรรษัทมหา’ลัย
สืบเนื่องจากบทความเรื่องการขอตำแหน่งวิชาการของสมชาย ปรีชาศิลปกุล แล้ว ภิญญพันธุ์เขียนบทความสืบเนื่องกัน ว่าด้วยระเบียบวิธีการในมหาวิทยาลัยทั้งประเด็นเรื่องรูปแบบองค์กร การจ้างงาน ไปจนถึงวิธีคิดเรื่องตรวจงานวิชาการ ที่สะท้อนความเทอะทะของระบบราชการได้เป็นอย่างดี

ภิญญพันธุ์ พจนะลาวัณย์
8 Jan 2023คู่มือ ‘ขายวิญญาณ’ เพื่อตำแหน่งวิชาการในมหาวิทยาลัย
สมชาย ปรีชาศิลปกุล เขียนถึง 4 ประเด็นที่พึงตระหนักของผู้ขอตำแหน่งวิชาการ จากประสบการณ์มากกว่าทศวรรษในกระบวนการขอตำแหน่งทางวิชาการในสถาบันการศึกษา

สมชาย ปรีชาศิลปกุล
5 Jan 2023งมเอกสาร อยู่ยามโรงเรียน สอนอ่านเขียนควบชั้น: เปิดชีวิตครูไทยที่ไม่ใช่แค่สอนหนังสือ
101 ชวนสำรวจชีวิตครูไทยที่การสอนหนังสือดูจะเป็นเรื่องลำดับรองๆ ที่ครูทำในโรงเรียน ไปจนถึงคุณภาพชีวิตการทำงานที่หลายเสียงบอกตรงกันว่าไม่สอดคล้องกับค่าจ้างที่ได้รับ ครูไทยวันนี้กำลังเผชิญกับอะไร

ปาณิส โพธิ์ศรีวังชัย
13 Dec 2022ทำไม ‘จังหวะเวลา’ การให้ทุนการศึกษาจึงสำคัญ?: ข้อค้นพบจากเศรษฐศาสตร์พฤติกรรม
เปิดผลงานวิจัยที่หาคำตอบว่าการให้ทุนกับผู้ปกครองในช่วงเวลาไหนจึงจะส่งผลต่อการนำเงินไปใช้จ่ายในกิจกรรมที่เกี่ยวกับการศึกษาของเด็กโดยตรง

นรชิต จิรสัทธรรม
30 Nov 2022ก้าวต่ออย่างไร เมื่อเด็กไทยเรียนรู้ถดถอยจากการปิดโรงเรียนช่วงโควิด?
สรุป Research Roundup 2022 หัวข้อ โควิดกับ ‘แผลเป็น’ ด้านพัฒนาการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชน : ความเหลื่อมล้ำ เทคโนโลยีการศึกษา และบทเรียนเชิงนโยบายสำหรับอนาคต’ โดย คิด for คิดส์

ภัทรธิดา ไทยอุส่าห์
28 Oct 2022จากออนไซต์สู่ออนไลน์ กวดวิชาจะไม่มีวันตายถ้าการศึกษาไทยยังเหมือนเดิม(?)
101 ชวนคุณมาสำรวจโลกของการศึกษาที่เด็กยุคใหม่ต้องกวดวิชาออนไลน์ และเสียงของตัวแทนฝั่งธุรกิจกวดวิชาที่ตกอยู่ท่ามกลางความเปลี่ยนแปลงหลังโควิดแพร่ระบาด

ภาวรรณ ธนาเลิศสมบูรณ์
24 Oct 2022จะเลี้ยงลูกในสังคมที่ไม่มีกฎหมายและจริยธรรมอย่างไรดี
ในวันที่โลกป่วย จะทำอย่างไรให้เด็กๆ ของเรามี ‘เอ็มพาธี’ คือความสามารถที่จะเห็นความทุกข์ของสรรพสิ่ง

ประเสริฐ ผลิตผลการพิมพ์
10 Oct 2022จากห้องทดลอง สู่โลกจริง: เศรษฐศาสตร์เชิงทดลองกับการใช้ Growth Mindset และมุมมองด้านอาชีพเพื่อเปลี่ยนอนาคต
ชวนมองผลการทดลองการใช้ growth mindset และมุมมองด้านอาชีพเพื่อเปลี่ยนอนาคตในกลุ่มนักเรียนด้อยโอกาส

นรชิต จิรสัทธรรม
7 Oct 2022Research Roundup 2022 : “จินตนาการใหม่-แผลเป็น-เปราะบาง” : อนาคตนโยบายเด็กและครอบครัวไทยในสามวิกฤต
พบกับการนำเสนองานวิจัยและวงสนทนาความรู้ 4 วงใน 4 หัวข้อแห่งยุคสมัย โดยนักวิจัยและแขกรับเชิญหลากหลาย
ตั้งแต่วันที่ 27-30 ก.ย. 65 บ่ายโมงตรงเป็นต้นไป

กองบรรณาธิการ
22 Sep 2022เข้าใจ ‘วิกฤตการเรียนรู้ถดถอย’ บาดแผลจากโรคระบาดที่ตอกย้ำปัญหาใต้พรมการศึกษาไทย
สรุปความจาก 101 Policy Forum #18 ฟื้นฟูการศึกษา พาเด็กไทยออกจากวิกฤตการเรียนรู้ ที่ชวนกันมาเสนอการแก้ปัญหาภาวะการเรียนรู้ถดถอย

ภัคจิรา มาตาพิทักษ์
20 Sep 2022‘การศึกษาไทยในวันที่โรงเรียนไร้อำนาจ’ – กระจายอำนาจการศึกษาคืนสู่โรงเรียน กับ สุกรี นาคแย้ม
101 สนทนากับ สุกรี นาคแย้ม ว่าด้วยโครงสร้างระบบการจัดการบริหารระบบการศึกษาอันเป็นเหตุให้โรงเรียนไม่มีอำนาจอย่างแท้จริง และแนวทางในการกระจายอำนาจการศึกษาที่ทำให้การศึกษาเจริญงอกงามได้อย่างยั่งยืนและทั่วถึง
