Political Economy
Political Economy
Filter
Sort
ฤา ‘ดอลลาร์’ กำลังเสื่อมคุณค่าลง? : สงครามอำนาจสกุลเงินตราและการลุกขึ้นมาท้าทายของ ‘BRICS’
101 สำรวจอำนาจของสกุลเงินตราอย่าง ‘ดอลลาร์สหรัฐ’ ในวันที่กลุ่มประเทศบริกส์ (BRICS) พยายามสร้างสกุลเงินสำรองใหม่เพื่อมาแทนที่
ศุภวิชญ์ ศิริสวัสดิ์วัฒนา
10 Dec 2024ทำไมแต่ละประเทศถึงร่ำรวย (และยากไร้) ไม่เท่ากัน?
รพีพัฒน์ อิงคสิทธิ์ ชวนหาเหตุผลว่าทำไมแต่ละประเทศถึงรวยและจนไม่เท่ากัน ผ่านคำอธิบายของบรรดานักเศรษฐศาสตร์ รวมถึงผู้ได้รับรางวัลโนเบลปีล่าสุด
รพีพัฒน์ อิงคสิทธิ์
31 Oct 2024101 In Focus EP.250: ไขคำตอบ ‘ทำไมบางประเทศรวย-จน?’ ผ่านโนเบลเศรษฐศาสตร์ 2024
101 In Focus ชวนทำความเข้าใจผลงานของนักเศรษฐศาสตร์รางวัลโนเบล 2024 และชวนสำรวจข้อถกเถียงที่เกิดขึ้นในแวดวงวิชาการ
กองบรรณาธิการ
25 Oct 2024‘ประชาธิปไตย’ บนเส้นทางของสามนักเศรษฐศาสตร์รางวัลโนเบล
ประชาธิปไตยสำคัญอย่างไรต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ? อิสร์กุล อุณหเกตุ ชวนสำรวจความเชื่อมโยงระหว่างสถาบันทางการเมืองกับสถาบันทางเศรษฐกิจ ผ่านผลงานของสามนักเศรษฐศาสตร์ผู้คว้ารางวัลโนเบล สาขาเศรษฐศาสตร์ ประจำปี 2024 ดารอน อาเซโมกลู, ไซมอน จอห์นสัน และ เจมส์ เอ. โรบินสัน
อิสร์กุล อุณหเกตุ
23 Oct 2024บทบาทของ ‘สถาบัน’ ต่อการพัฒนาเศรษฐกิจในระยะยาว: รางวัลโนเบล สาขาเศรษฐศาสตร์ 2024
วรรณพงษ์ ดุรงคเวโรจน์ ชวนทำความเข้าใจผลงานของดารอน อาเซโมกลู, ไซมอน จอห์นสัน และเจมส์ โรบินสัน นักเศรษฐศาสตร์ซึ่งเพิ่งได้รับรางวัลโนเบล สาขาเศรษฐศาสตร์ ประจำปี 2024
วรรณพงษ์ ดุรงคเวโรจน์
20 Oct 2024ดึงดูดแรงงานต่างชาติทักษะสูง: ทางรอดเศรษฐกิจไทยที่ยังเปี่ยมขวากหนาม
แรงงานทักษะสูงกำลังเป็นที่ต้องการมากขึ้นทั้งในประเทศไทยและทั่วโลก แต่นโยบายดึงดูดแรงงานให้เข้ามาทำงานยังเป็นขวากหนามใหญ่ที่ยังแก้ไขได้ไม่รอบด้าน
พิชชากร เรืองเดชาวิวัฒน์
20 Sep 2024เสรีนิยมตายแล้ว เสรีนิยมใหม่กว่าจงเจริญ
อั๊บ สิร นุกูลกิจ ชวนมองข้อถกเถียงเรื่องระบอบ ‘เสรีนิยมใหม่’ ก่อนจะเข้าสู่ความเสื่อมถอยในปัจจุบัน อันนำมาสู่คำถามว่าเสรีนิยมตายแล้วจริงไหม
อั๊บ สิร นุกูลกิจ
17 Sep 2024ก่อนจะมีหมาล่าทุกหน้าปากซอย: ทุนต่างชาติกับอาการปากว่าตาขยิบของสยาม (ตั้งแต่) ในอดีต
ชยางกูร เพ็ชรปัญญา ชวนสำรวจประวัติศาสตร์การคืบคลานของทุนต่างชาติในสยามที่ชนชั้นนำมักแปะป้ายความ ‘เป็นอื่น’ แต่กลับใช้ประโยชน์จากทุนต่างชาติทั้งทางเศรษฐกิจและการเมืองเสียเอง
ชยางกูร เพ็ชรปัญญา
9 Sep 2024ระบบเศรษฐกิจในฐานะจุดบรรจบของสถาบันทางวัฒนธรรม รัฐ และตลาด
ตฤณ ไอยะรา เขียนถึงระบบเศรษฐกิจในฐานะจุดบรรจบของสถาบันทางวัฒนธรรม รัฐ และตลาด ตลอดจนแนวทางการตอบคำถามทางเศรษฐกิจ
ตฤณ ไอยะรา
4 Sep 2024101 In Focus EP.239: ‘ชนชั้นเสี่ยง’ และทางเลือกการพัฒนาหลังยุคเสรีนิยมใหม่
101 In Focus สัปดาห์นี้ ชวนสนทนาว่าด้วยหลักคิดของ กาย สแตนดิง ต่อความเหลื่อมล้ำ ชนชั้นเสี่ยง และข้อเสนอรูปธรรมของเขาต่อการพัฒนาหลังยุคเสรีนิยมใหม่ เพื่อความเป็นธรรมทางเศรษฐกิจอย่างแท้จริง
กองบรรณาธิการ
9 Aug 2024ความเป็นอิสระของธนาคารกลาง: ออกแบบอย่างไรให้ประชาชนได้ประโยชน์สูงสุด?
101 PUB ชวนสำรวจว่าทำไมธนาคารกลางควรเป็นอิสระจากรัฐบาล ? ราคาที่สังคมต้องจ่ายคืออะไร ? และจะทำอย่างให้ธนาคารกลางยึดโยงกับประชาชน
กษิดิ์เดช คำพุช
25 Jul 20248 ประเด็นสำคัญจาก ‘ร่างงบปี 68’: คิดใหญ่ ใช้เงินเป็น เห็นอนาคต?
101 PUB ชวนสำรวจ 8 ประเด็นสำคัญจาก ‘ร่างงบปี 68’ (2025) เพื่อเข้าใจว่า รัฐบาลกำลังจะใช้เงินของคนไทยอย่างไร? วางอนาคตแบบไหนไว้ให้พวกเรา?
วรดร เลิศรัตน์
21 Jun 2024อยากรับเงินหมื่นแสนชื่นใจ หรืออยากได้ไฟฟ้าไว้ใช้เอง? – ว่าด้วยเรื่องเงินแสนล้านที่รัฐบาลอยากแจก
คอลัมน์สารกันเบื่อ เอกศาสตร์ สรรพช่าง ชวนคิดว่าถ้าไม่นำเงิน 5.6 แสนล้านบาทลงทุนกับโครงการแจกเงินดิจิทัล จะสามารถนำไปใช้ลงทุนเรื่องติดตั้งโซลาร์เซลล์นับล้านครัวเรือนแทนดีไหม?
เอกศาสตร์ สรรพช่าง
27 May 2024เสรีภาพ สร้างคน สร้างผลิตภาพ: สายธารความคิดและข้อถกเถียงเรื่องเสรีภาพและความยุติธรรม ในงานของ อมาตยา เซน
อั๊บ สิร นุกุลกิจ เล่าแนวคิดและข้อถกเถียงในเรื่องเสรีภาพและความยุติธรรม จากงานของนักเศรษฐศาสตร์ดัง อมาตยา เซน
อั๊บ สิร นุกูลกิจ
13 May 2024ข้อโต้แย้งไทย-อินเดีย: เกิดอะไรขึ้นกันแน่ในงาน WTO ที่อาบูดาบี
พีเทอร์ ไมตรี อึ๊งภากรณ์ เขียนถึงดราม่าในที่ประชุม WTO ที่ไม่เพียงแค่สะท้อนภาพใหญ่การค้าข้าวโลก แต่ยังตั้งคำถามต่อจุดยืนของรัฐบาลไทย
พีเทอร์ ไมตรี อึ๊งภากรณ์
25 Mar 2024ปากท้องดี-มีประชาธิปไตย: สองโจทย์ที่สังคมไทยไม่ต้องเลือก
ปากท้อง กับ ประชาธิปไตย เป็น ‘ทางแพร่ง’ ที่เราต้องเลือกจริงหรือไม่? 101 PUB ชวนสำรวจคำอธิบายว่า ประชาธิปไตยเป็นเงื่อนไขในการเติมเต็มปากท้องและความฝันของประชาชนอย่างไร?