ให้ตำรวจ ‘ติดกล้อง’ ดีไหม?
ปกป้อง ศรีสนิท ชวนคิดเรื่องการติดกล้องให้เจ้าหน้าที่ตำรวจ งานวิจัยชี้การเพิ่มความโปร่งใสด้วยการติดกล้องลดโอกาสปฏิบัติมิชอบของเจ้าหน้าที่ตำรวจ และช่วยคุ้มครองการปฏิบัติหน้าที่อย่างสุจริตของเจ้าหน้าที่
ปกป้อง ศรีสนิท ชวนคิดเรื่องการติดกล้องให้เจ้าหน้าที่ตำรวจ งานวิจัยชี้การเพิ่มความโปร่งใสด้วยการติดกล้องลดโอกาสปฏิบัติมิชอบของเจ้าหน้าที่ตำรวจ และช่วยคุ้มครองการปฏิบัติหน้าที่อย่างสุจริตของเจ้าหน้าที่
คุยกับ ดร.เดือนเด่น นิคมบริรักษ์ ผู้อำนวยการวิจัย สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย (ทีดีอาร์ไอ) ว่าด้วยแนวคิด Open government และทางออกปฏิรูปรัฐไทย
เก็บความจากเสวนา ‘การต่อสู้กับคอร์รัปชัน การผูกขาด และอธรรมภิบาลภาครัฐ : สนามวิชาการของเดือนเด่น นิคมบริรักษ์’ ในวาระการจากไปของ ดร.เดือนเด่น นิคมบริรักษ์
เสวนารำลึกความคิดและผลงานของ “เดือนเด่น นิคมบริรักษ์” ผู้อำนวยการวิจัย สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย (ทีดีอาร์ไอ)
เก็บความจากงาน “Open Data for Anti-Corruption Workshop” ว่าด้วยการใช้ Open Data ในการต่อต้านคอร์รัปชัน ถอดบทเรียนจากฟิลิปปินส์ ไต้หวัน พร้อมอัพเดตความคืบหน้าในประเทศไทย
มานะ นิมิตรมงคล ประเมินผลงานด้านคอร์รัปชันในยุค คสช. ที่มีแนวโน้มปิดกั้นข้อมูลมากขึ้นและมีประเด็นน่ากังขาหลายเรื่อง
กานต์ธีรา ภูริวิกรัย เก็บความจากวงเสวนา ‘Open Data และ AI เพื่อความยุติธรรมที่ประชาชนมีส่วนร่วม’ ว่าด้วยการใช้ Open Data และ AI ในการส่งเสริมและพัฒนากระบวนการยุติธรรม และการสร้างการมีส่วนร่วมของประชาชน
ความเห็นจากวงเสวนา ‘Open Data และ AI เพื่อความยุติธรรมที่ประชาชนมีส่วนร่วม’ ที่มุ่งศึกษาความเป็นไปได้ทางเทคโนโลยีเพื่อนำมาใช้แก้ปัญหาความยุติธรรมในสังคมไทย
‘Blockchain’ ในฐานะเทคโนโลยีที่จะเข้ามาเปลี่ยนโฉมอนาคต ด้วยคุณลักษณะเด่นที่ผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง สามารถย้อนกลับไปตรวจสอบความโปร่งใสได้ เทคโนโลยีนี้จึงเริ่มถูกนำมาใช้ประโยชน์กับเรื่องอื่นๆ นอกเหนือจากโลกการเงินด้วย
พันธวัฒน์ เศรษฐวิไล เก็บความจากวงเสวนาโต๊ะกลม หัวข้อ ‘เทคโนโลยี Blockchain เพื่อความโปร่งใสและความรับผิดชอบ’ ซึ่งภาคส่วนต่างๆ มาระดมสมองกันหาคำตอบดังกล่าว ว่าด้วยการใช้ Blockchain ในกระบวนการยุติธรรม
ปาณิส โพธิ์ศรีวังชัย ชวนสำรวจมุมมองใหม่ของ ‘การโกงแบบไทยๆ’ เพื่อทำความเข้าใจว่าทำไมที่ผ่านมาการแก้ไขปัญหาคอร์รัปชันจึงไม่เคยประสบความสำเร็จ
อิสร์กุล อุณหเกตุ ตั้งข้อสังเกตถึงกฎหมายฉบับใหม่ที่กำหนดให้เจ้าหน้าที่รัฐกว่า 2 ล้านคน ต้องเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับทรัพย์สินของตัวเอง การคอร์รัปชั่นจะลดลงได้จริงหรือ? อะไรคือสิ่งที่เราควรกังวล? และอะไรคือสิ่งที่เราควรคาดหวัง?