Justice & Human Rights
Justice & Human Rights
สำรวจประเด็นความยุติธรรมและสิทธิมนุษยชนของผู้คนทั้งไทยและทั่วโลก
Filter
Sort
2 ปีรัฐประหารพม่ากับความสิ้นหวังของเด็กผู้ลี้ภัยในไทย
พุทธณี กางกั้น ชวนมองสถานการณ์เด็กผู้ลี้ภัยที่ชายแดนไทย-พม่า ที่ไม่ได้รับการคุ้มครองจากรัฐบาลไทยและยังถูกบังคับให้กลับไปพม่าหลายครั้ง

พุทธณี กางกั้น
1 Feb 2023“จุดไฟแล้วส่งต่อ อย่าให้ดับ” วรเจตน์ ภาคีรัตน์ ในวันที่ต้องยอมรับว่าการเปลี่ยนแปลงใช้เวลามากกว่าที่คิด
101 ชวน วรเจตน์ ภาคีรัตน์ มองภาพกว้างสังคมไทยว่าเราควรทำความเข้าใจอย่างไรต่อระบอบการปกครองที่เป็นอยู่นี้ คุณค่าหลักที่อยู่ในรัฐธรรมนูญคืออะไรและจะส่งผลอย่างไรต่อการต่อสู้ทางการเมือง จนถึงประเด็นที่ชวนคิดต่อการเลือกตั้ง 2566

วจนา วรรลยางกูร
24 Jan 2023เมื่อกระบวนการยุติธรรมไม่ตรงไปตรงมา การอดอาหารจึงเกิดขึ้น : ว่าด้วยเงื่อนไขและการถอนประกัน 112
101 คุยกับกุณฑิกา นุตจรัส ทนายความคดี 112 ถึงสถานการณ์การถอนประกัน และปัญหาของเงื่อนไขประกันที่เกิดคำถามในเชิงกฎหมายและกระบวนการยุติธรรม

สุดารัตน์ พรมสีใหม่
23 Jan 20232 ปี 4 เดือน 3 วัน ชีวิตนักโทษการเมืองกับความผิดที่ไม่ได้ก่อของ วาสนา บุษดี
ชีวิตของวาสนา บุษดี คนหาเช้ากินค่ำที่กลายมาเป็นนักโทษการเมือง เข้าคุกจากคดีระเบิด ทั้งที่ไม่เคยยุ่งเกี่ยวเรื่องการเมือง และสุดท้ายศาลยกฟ้อง

วจนา วรรลยางกูร
28 Nov 2022ตั้งแต่สิทธิมนุษยชนจนถึงธงสีรุ้ง มหากาพย์ดราม่า ณ กรุงกาตาร์ใน World Cup 2022
การมาถึงของฟุตบอลโลก 2022 ที่กาตาร์มาพร้อมข้อถกเถียงมากมาย นับตั้งแต่สภาพนักเตะที่น่วมไปทั้งตัวจากการตะบี้ตะบันลงเตะให้สโมสรและเวิลด์คัพ, ประเด็นการละเมิดสิทธิแรงงานข้ามชาติ, ธงสีรุ้งที่เคยจ่อจะถูกแบน ไปจนถึงวัฒนธรรมการดื่มแอลกอฮอล์ในกาตาร์ที่อาจไม่เป็นที่คุ้นเคยของแฟนบอลส่วนใหญ่เท่าไหร่

พิมพ์ชนก พุกสุข
17 Nov 2022ขังหรือปล่อย ระหว่างดำเนินคดีอาญา
ปกป้อง ศรีสนิท ชวนมองวิธีคิดเรื่องหลักการขังหรือปล่อยผู้ต้องหาระหว่างถูกดำเนินคดีอาญา การปฏิเสธไม่ให้ประกันตัวกระทบสิทธิที่จะถูกสันนิษฐานไว้ก่อนว่าบริสุทธิ์หรือไม่

ปกป้อง ศรีสนิท
16 Nov 2022People-Centered Justice in Action: ยึดประชาชนเป็นศูนย์กลางเพื่ออนาคตแห่งความยุติธรรมที่ยั่งยืน
101 สรุปความจากงานประชุมหัวข้อ People Centered Justice in Action ว่าด้วยทิศทางพัฒนาระบบยุติธรรมโดยยึดประชาชนเป็นศูนย์กลาง

ภัคจิรา มาตาพิทักษ์
15 Nov 2022การต่อสู้ที่ไม่จบสิ้นของ ‘วิญญัติ ชาติมนตรี’ ทนายจำเลยคดีการเมืองในโลกสองมาตรฐาน
101 พูดคุยกับวิญญัติ ชาติมนตรี ถึงชีวิตที่ผ่านมาของเขาตั้งแต่ก่อนเข้าสู่โลกกฎหมายและจุดเปลี่ยนแปลงในชีวิตทนายความที่เริ่มมาทำคดีการเมืองอย่างต่อเนื่องจนปัจจุบัน

วจนา วรรลยางกูร
31 Oct 2022เมื่อแสดงออกตามสิทธิ จึงถูกจำกัดเสรีภาพ: ชีวิตภายใต้พันธนาการของกำไลอีเอ็ม
กำไลติดตามตัวหรือกำไลอีเอ็มเป็นสิ่งประดิษฐ์ที่ถูกคิดค้นขึ้นมาเพื่อคืนเสรีภาพให้ผู้ต้องหา หากแต่เมื่อมันถูกนำมาใช้กับกลุ่มคนที่ต้องคดีจากการแสดงความคิดเห็นตามสิทธิเสรีภาพที่พึงมี ก็ชวนให้ตั้งคำถามถึงภาวะแห่ง ‘ความย้อนแย้ง’ ของกำไลอีเอ็มและระบบความยุติธรรมในไทย

พิมพ์ชนก พุกสุข
28 Oct 2022ให้เสียงเยาวชนมี ‘ความหมาย’: เปิดกระบวนการนโยบายให้เยาวชนมีส่วนร่วม
คิด for คิดส์ ชวนสำรวจปัญหาการขาดช่องทางการมีส่วนร่วมอย่าง ‘มีความหมาย’ ของเยาวชนในกระบวนการนโยบายสาธารณะ และเสนอแนวทางขยายช่องทางดังกล่าว เพื่อให้นโยบายตอบสนองปัญหาและความต้องการของเยาวชนได้ดีขึ้น

วรดร เลิศรัตน์
26 Oct 2022ประเทศไทยไม่ต้องการศาลรัฐธรรมนูญ
มุนินทร์ พงศาปาน ชวนพิจารณาการดำรงอยู่ของศาลรัฐธรรมนูญไทย โดยเฉพาะบทบาทในการปกป้องคุณค่าประชาธิปไตยและสิทธิเสรีภาพขั้นพื้นฐานของประชาชน

มุนินทร์ พงศาปาน
19 Oct 2022คดีความผิดมาตรา 112 กับกระบวนการยุติธรรมไทยที่ไปไม่ค่อยเป็น
ดิศรณ์ ลิขิตวิทยาวุฒิ ชวนมองอาการ ‘ไปไม่เป็น’ ของกระบวนการยุติธรรม เมื่อเผชิญกับคดี 112 จนทำให้มีการพิจารณาคดีที่ไม่เป็นไปตามหลักกฎหมาย

ดิศรณ์ ลิขิตวิทยาวุฒิ
16 Oct 2022ไขแสง สุกใส: ส.ส. คอมมิวนิสต์? กบฏรัฐธรรมนูญ และจุดเริ่มต้น 14 ตุลาฯ
เรื่องราวของ ไขแสง สุกใส หนึ่งในนักการเมืองที่มีบทบาทสำคัญต่อประวัติศาสตร์การเมืองไทย ตั้งแต่ทศวรรษ 2500 14 ตุลาฯ และการเข้าป่า

สุดารัตน์ พรมสีใหม่
14 Oct 2022‘วิสามัญมรณะ’: การตายในชีวิตประจำวันของสามัญชนด้วยน้ำมือรัฐ
สมชาย ปรีชาศิลปกุล ชวนทำความรู้จัก ‘วิสามัญมรณะ’ อันหมายถึงการเสียชีวิตของบุคคล โดยที่เจ้าหน้าที่รัฐเข้ามามีส่วนเกี่ยวข้องอยู่ในฐานะต่างๆ

สมชาย ปรีชาศิลปกุล
11 Oct 2022ความยุติธรรมนั้นอยู่ที่ไหน จากไทยแลนด์ถึงสหรัฐอเมริกา
จากเหตุการณ์ 6 ตุลาในไทยที่ยังหาผู้รับผิดไม่ได้ ธเนศ อาภรณ์สุวรรณชวนมองไปถึงการเรียกร้องความเป็นธรรมของคนผิวดำในอเมริกา โดยต้องเริ่มต้นจากการทำให้ ‘ประวัติศาสตร์ของผู้ถูกกระทำ’ เป็น ‘ประวัติศาสตร์ชาติ’ และวิพากษ์ประวัติศาสตร์ชาตินิยมดั้งเดิมได้อย่างมีน้ำหนัก

ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ
7 Oct 2022ที่นี่มีคนตาย (แต่ไม่มีคนผิด?) : ความหวาดกลัวของรัฐลอยนวลกับการลงนาม ICC
101 ชวนทำความเข้าใจเรื่อง ICC โอกาสในการยื่นคดีให้พิจารณา เหตุผลที่ต้องให้สัตยาบัน ข้อถกเถียงเรื่องสถาบันพระมหากษัตริย์ และอุปสรรคที่ทำให้เรื่องนี้ยังไม่สำเร็จ
