China
รู้จักมหาอำนาจจีนทั้งในแง่เศรษฐกิจ สังคม และการเมือง
Filter
Sort
เอกชนกับพรรคคอมมิวนิสต์จีน
อาร์ม ตั้งนิรันดร เขียนถึงการมีบทบาทนำของพรรคคอมมิวนิสต์จีนในภาคเอกชน และการมีคณะกรรมการพรรคคอมมิวนิสต์ประจำบริษัท

อาร์ม ตั้งนิรันดร
8 ก.พ. 2021ถ้าไม่มีโจว เอินไหล… ก็ไม่มีมหาอำนาจจีนในวันนี้
ปิติ ศรีแสงนาม เขียนถึง ‘โจว เอินไหล’ หนึ่งในมหาบุรุษที่ชาวจีนเคารพรักมากที่สุด ในวาระครบรอบ 45 ปีการถึงแก่อสัญกรรม

ปิติ ศรีแสงนาม
8 ม.ค. 2021ถอดรหัสแผนพัฒนาฉบับใหม่ของจีน: ยุทธศาสตร์สองหมุนเวียน
อาร์ม ตั้งนิรันดร เขียนถึง ‘ยุทธศาสตร์สองหมุนเวียน’ ซึ่งเป็นหัวใจของแผนพัฒนาเศรษฐกิจฉบับใหม่ของจีน

อาร์ม ตั้งนิรันดร
8 พ.ย. 2020แอปเปิล จีนและทฤษฎีสมคบคิด
คอลัมน์ สารกันเบื่อ เดือนนี้ เอกศาสตร์ สรรพช่าง เขียนถึง เมืองกุ้ยโจว เมืองเศรษฐกิจ Big Data น้องใหม่โตเร็ว ซึ่งกลายเป็นสมรภูมิอันซับซ้อนของความขัดแย้งระหว่างจีน-สหรัฐหลังแอปเปิลตบเท้าก้าวเท้าเข้ามาในเมืองนี้

เอกศาสตร์ สรรพช่าง
23 ก.ย. 2020วิกฤตอู่ฮั่นเป็นคันฉ่องส่องสังคมจีน
อาร์ม ตั้งนิรันดร ชวนมองวิกฤตการแพร่ระบาดของโควิด-19 ในอู่ฮั่น รวมถึงวิเคราะห์ความสำเร็จในการควบคุมโรคระบาดที่สะท้อนลักษณะเด่นของสังคมจีนยุคปัจจุบัน

อาร์ม ตั้งนิรันดร
3 ส.ค. 2020การค้าสามผสม: จีนกับโลกหลังโควิด
อาร์ม ตั้งนิรันดร เขียนถึง ‘ยุทธศาสตร์การค้าสามผสม’ สะท้อนภาพยุทธศาสตร์ทางเศรษฐกิจของจีนที่อาจเกิดขึ้นในโลกหลังโควิด-19

อาร์ม ตั้งนิรันดร
14 มิ.ย. 2020สองนักวิชาการ ‘อันตราย’ ที่จีนไม่อยากให้จำ
เนติวิทย์ โชติภัทร์ไพศาล และศุภณัฐ อเนกนำวงศ์ เขียนถึง ‘จารึกหวัง กั๋วเหวย’ ที่มหาวิทยาลัยชิงหวา ศิลารำลึกนักวิชาการที่กลายเป็นสัญลักษณ์ของการไม่ยอมก้มหัวให้เผด็จการทางความคิด

กองบรรณาธิการ
4 พ.ค. 2020สงครามทวิตเตอร์จีน-ไทย : Lost in Translation
อิสระ ชูศรี เขียนถึงความหมายที่ซ่อนอยู่ในดราม่า #nnevvy บนโลกทวิตเตอร์ที่ปะทุขึ้นจนทำให้ภาพความสัมพันธ์ระหว่างจีน-ไทย เปลี่ยนไปอย่างสิ้นเชิง

อิสระ ชูศรี
27 เม.ย. 2020ธุรกิจจีนรับมือ COVID-19 อย่างไร?
ในช่วงวิกฤตเช่นนี้ ธุรกิจต้องปรับตัวอย่างไรถึงจะอยู่รอด ชวนถอดบทเรียนการปรับตัวของภาคธุรกิจจีนในช่วง COVID-19 โดย อาร์ม ตั้งนิรันดร

อาร์ม ตั้งนิรันดร
9 เม.ย. 2020เกมการบั่นคลอนสถานะ : อีกหนึ่งแนวปะทะสองฝั่งฟากช่องแคบไต้หวัน
ธีวินท์ สุพุทธิกุล ชวนอ่านเกมการ ‘บั่นคลอน’ สถานะของจีนและไต้หวันบนเวทีระหว่างประเทศ พร้อมทั้งหาคำตอบว่าการแข่งขันดังกล่าวเป็นแนวหน้าที่สำคัญอย่างไร และทั้งสองฝั่งใช้กลยุทธ์อะไรเพื่อต่อกรกัน

ธีวินท์ สุพุทธิกุล
18 ก.พ. 2020เมื่อเศรษฐกิจจีนถึงคราวบุญเก่าหมด และต้องแสวงบุญใหม่
อาร์ม ตั้งนิรันดร เขียนถึงเศรษฐกิจจีนที่กำลังจะหมดบุญเก่า และถึงคราวต้องแสวงบุญใหม่โดยใช้จุดแข็งของตนเอง รวมถึงการยกระดับสู่เทคโนโลยีในยุค 4.0 และ 5.0 ที่นักวิเคราะห์มองว่า เป็นโอกาสรอดสำคัญของจีน

อาร์ม ตั้งนิรันดร
17 ม.ค. 2020GBA กับการผนวกเศรษฐกิจจีนเข้ากับฮ่องกง: ความสำเร็จและความล้มเหลว
อาร์ม ตั้งนิรันดร เขียนถึง ยุทธศาสตร์เขตเศรษฐกิจอ่าวกวางตุ้ง-ฮ่องกง-มาเก๊า (GBA: Greater Bay Area) ว่าด้วยความหมาย จุดประสงค์ และความเกี่ยวของกับวิกฤตฮ่องกงขณะนี้

อาร์ม ตั้งนิรันดร
11 ธ.ค. 2019คนจีนรุ่น 00 เลือกเรียนอะไร?
อาร์ม ตั้งนิรันดร เขียนถึงการเปลี่ยนแปลงของการเลือกสาขาวิชาเรียน ของเด็กรุ่น 00 ในประเทศจีน หรือเด็กรุ่นที่เกิดหลังปี 2000 ซึ่งสะท้อนสภาพการพัฒนาที่เปลี่ยนแปลงไปของสังคมจีน

อาร์ม ตั้งนิรันดร
17 ต.ค. 201970 ปี สาธารณรัฐประชาชนจีน กับ อาร์ม ตั้งนิรันดร
อ่านจีน เข้าใจโลกผ่าน ผ่านประวัติศาสตร์และอนาคตของสาธารณรัฐประชาชนจีน กับ อาร์ม ตั้งนิรันดร คณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

กองบรรณาธิการ
2 ต.ค. 2019ความพิเศษของสงครามเย็น 2.0
อาร์ม ตั้งนิรันดร เขียนถึง ‘สงครามเย็น 2.0’ และเหตุผลที่จีนเป็นภัยคุกคามต่อสหรัฐฯ ได้ร้ายกว่าสหภาพโซเวียตในยุคสงครามเย็น
