Health
Health
เปิดความรู้สุขภาพใกล้ตัว รู้ทันความเข้าใจผิดเรื่องสุขภาพ และทำความเข้าใจภาพใหญ่ของระบบสาธารณสุข
Filter
Sort
ทำไมพยาบาลจิตเวชถึงไม่มีเวลาทำงานจิตเวช?
คิด for คิดส์ ชวนฟังเสียงของคนทำงานจิตเวชด่านหน้าที่ต้องแบกรับภาระงานรอบด้าน ภายใต้แรงกดดันของ ‘ตัวชี้วัด’ ในบริบทพื้นที่ห่างไกล ซึ่งย้อนกลับมาสร้างปัญหาให้กับการกระจายบุคลากรด้านจิตเวชที่ขาดแคลนอยู่แล้ว

สรัช สินธุประมา
26 Jan 2023เห็นตัวเลข ไม่เห็นหัวใจ: สถิติสุขภาพจิตไทยที่ต้องทบทวน
คิด for คิดส์ ชวนทบทวนตัวเลข เครื่องมือ และสถิติด้านจิตเวชที่ยังต้องปรับปรุงให้ ‘มองเห็น’ ปัญหาสุขภาพใจของคนไทยอย่างครบถ้วนยิ่งขึ้น

สรัช สินธุประมา
25 Jan 2023สุขภาพใจที่อยู่ไกลเกินเอื้อมของเด็กและวัยรุ่นไทย
สำหรับเด็กและวัยรุ่นในหลายจังหวัด การเข้าถึงบริการทางจิตเวชโดยแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ ยังคงเป็นเรื่องที่อยู่ไกลเกินเอื้อม คิด for คิดส์ ชวนสำรวจสถานการณ์สุขภาพใจเด็กและเยาวชนไทยผ่านมิติเชิงพื้นที่ของการให้บริการด้านจิตเวชในหนึ่งแผนที่

สรัช สินธุประมา
9 Jan 2023คุณแม่ไม่มา คนทำงานไม่พอ : ภาพสะท้อนบริการฝากครรภ์ที่กลายเป็นสิ่งรั้งท้ายในวิกฤตโควิด
101 สำรวจปัญหาการฝากครรภ์ที่ลดน้อยถอยลงในช่วงโควิดจากมุมมองของบุคลากรทางการแพทย์ และย้อนมองระบบสาธารณสุขปัจจุบันว่าดูแลแม่และเด็กทั่วถึงครบถ้วนแล้วหรือยัง

ภาวรรณ ธนาเลิศสมบูรณ์
15 Dec 2022สุขภาพเด็กแรกเกิดไทย เรื่องใหญ่ที่ยังต้องกังวล
101 PUB สำรวจสุขภาวะเด็กแรกเกิดไทยที่จัดว่ากำลังน่าเป็นห่วง ด้วยอัตราเสียชีวิตที่สูงขึ้น จากความเหลื่อมล้ำ และช่องว่างของสวัสดิการเด็กเล็ก

สรัช สินธุประมา
14 Nov 2022‘เกิด แก่ เจ็บ ตาย’ ในวงจรนโยบายสาธารณะ
นพ.สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์ เขียนถึงการ ‘เกิด แก่ เจ็บ ตาย’ ในนโยบายสาธารณะ ที่รัฐเข้ามามีส่วนจัดการชีวิตประชาชน ซึ่งมีความซับซ้อนหลายด้าน

สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์
8 Nov 2022คุมกัญชาเสรีอย่างไรให้ปลอดภัยกับเด็กและเยาวชนที่สุด
เมื่อการปลดล็อกกัญชาเสรีเป็นไปโดยขาดมาตรการกำกับที่รัดกุม เด็กและเยาวชนได้รับผลกระทบมากที่สุด คิด for คิดส์ ชวนสำรวจผลกระทบ ชี้ช่องโหว่ร่าง พ.ร.บ. กัญชาฯ และเสนอทางออกเชิงนโยบาย

เจณิตตา จันทวงษา
5 Oct 2022ระลึกถึงอาจารย์อารี
ในวาระการจากไปของ ศ.นพ.อารี วัลยะเสวี ผู้ร่วมก่อตั้งคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี ม.มหิดล นพ.ประเสริฐ ผลิตผลการพิมพ์ เล่าความทรงจำถึง ‘อาจารย์อารี’ และการทำงานเรื่องปฏิรูปการศึกษาที่มูลนิธิสดศรี-สฤษดิ์วงศ์

ประเสริฐ ผลิตผลการพิมพ์
29 Jul 2022Hack & Crack ผ่าแนวคิดเก่า – เปลี่ยนประชาชนเป็นคนทำนโยบาย
.
Thailand Policy Lab จัดกิจกรรมให้เยาวชนมาร่วมกันระดมสมองและคิดนโยบายเพื่อแก้ไขปัญหา ‘สุขภาพจิต’ อันเป็นปัญหาที่เยาวชนไทยจำนวนมากกำลังเผชิญ

กาญจนา ปลอดกรรม
25 Jul 2022กลุ่มเสี่ยงต้องระวังเป็นพิเศษ: เมื่อโอมิครอน (BA.4-BA.5) กลับมา และโควิดจะถูกปรับเป็นโรคประจำถิ่น
การระบาดของโอมิครอน BA.4-BA.5 และการเดินหน้าสู่โรคประจำถิ่นช่วยให้คนส่วนใหญ่ไปต่อได้ แต่กลุ่มเสี่ยงจะต้องระวังตัวเป็นพิเศษ โดยเฉพาะผู้สูงอายุ ผู้มีโรคประจำตัวที่ยังไม่ได้ฉีดวัคซีนเข็มกระตุ้น

ฉัตร คำแสง
1 Jul 2022“เราจะไม่ทิ้งใครไว้ข้างหลัง” คำมั่นในวิกฤตกับ ‘แรงงานข้ามชาติ’ ที่ถูกลืม
มองผลกระทบของแรงงานข้ามชาติในไทยช่วงโรคระบาด เมื่อการเข้าถึงสิทธิต่างๆ ถูกจำกัดด้วยเส้นแบ่งสัญชาติ

วจนา วรรลยางกูร
17 Jun 2022“ทางสายกลางคือคำตอบ” มองลับลวงพรางในนโยบายกัญชาเสรีกับ นพ.บัณฑิต ศรไพศาล
101 พูดคุยกับ ดร.นพ.บัณฑิต ศรไพศาล นักวิทยาศาสตร์ Centre for Addiction and Mental Health แคนาดา ถึงข้อสังเกตในนโยบายกัญชาและมาตรการควบคุมที่ยังไม่ถี่ถ้วน

วจนา วรรลยางกูร
3 Jun 202210 ประสบการณ์ 5 ข้อสรุปว่าด้วยเรื่อง ‘กำลังคน’ ในระบบสุขภาพ
สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์ เขียนถึงปัญหาเรื่องบุคลากรในระบบสาธารณสุข ที่มีความซับซ้อนและละเอียดอ่อนในการทำความเข้าใจเพื่อการพัฒนา

สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์
1 Jun 2022เครียด เหงา เศร้า : เยียวยาแผลใจวัยรุ่นยุคโควิดด้วยนโยบายสุขภาพจิตใหม่
เมื่อโควิด-19 และระบบการศึกษาสร้างแผลใจให้วัยรุ่นไทยนับล้าน 101 เก็บความจากวงเสวนาของ Thailand Policy Lab หาทางออกด้วยนโยบายสุขภาพจิตใหม่

ภาวรรณ ธนาเลิศสมบูรณ์
27 May 2022‘วัฒนธรรมความ(ซึม)เศร้า’ เมื่อความเศร้าเป็นสิ่งฉาบฉวย เก๋ไก๋และขายได้
คอลัมน์ PopCapture ตั้งข้อสังเกตถึงกระแสการแบ่งปันประสบการณ์เลวร้ายที่แพร่กระจายอยู่ในโลกออนไลน์ แม้ด้านหนึ่งมันจะช่วยเยียวยาผู้เล่า แต่ในอีกด้านก็กลายเป็นหลุมพรางขนาดย่อม ที่อาจพาใครต่อใครไปยังเขตแดนของ ‘ความป่วยไข้ทางใจ’ โดยไม่ได้เจตนา ทั้งมันยังแปรสภาพกลายเป็นสินค้าแฟชั่นอันชวนฉงนของโลกทุนนิยมด้วย

พิมพ์ชนก พุกสุข
26 May 2022อ่านอดีต-มองอนาคตการกระจายอำนาจบริการสาธารณสุขไทย (ตอนจบ)
ตอนจบเรื่องการกระจายอำนาจบริการสาธารณสุขไทย โดยสมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์ ว่าด้วยความพยายามพัฒนารูปแบบบริการสาธารณสุข โดยชวนตั้งคำถามว่า สิ่งสำคัญคือเราเร่ิมจากถามคำถามที่ถูกต้องหรือยัง?
