Science & Innovation
Science & Innovation
เปิดโลกนวัตกรรม อ่านความรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเปลี่ยนโลก
Filter
Sort
การเดินทางของกิมจิ: เมื่อเกาหลีใต้อยากเปลี่ยนเศษอาหารให้เป็นพลังงาน
คอลัมน์ ‘สารกันเบื่อ’ เดือนนี้ เอกศาสตร์ สรรพช่าง เขียนถึงวิธีการจัดการขยะเศษอาหารของเกาหลีใต้ ที่สะท้อนวัฒนธรรมการใช้ชีวิตของคนเกาหลี และการประยุกต์ใช้นวัตกรรมที่ล้ำสมัย

เอกศาสตร์ สรรพช่าง
16 Oct 2023คนไทยจะไปดวงจันทร์กับเค้าด้วยทำไม?
นําชัย ชีววิวรรธน์ พาสำรวจภารกิจด้านอวกาศของหลากประเทศมหาอำนาจ พร้อมย้อนกลับมาดูที่ทางของไทยในสนามการแข่งขันด้านเทคโนโลยีอวกาศ

นำชัย ชีววิวรรธน์
16 Oct 2023เมื่อการศึกษาเผชิญหน้า AI: แง่มุมไหนที่การศึกษาไทยต้องเตรียมตัว
101 ชวนทำความเข้าใจฉากทัศน์การใช้ AI ในการเรียนรู้ เตรียมความพร้อมสมรรถนะทั้งผู้สอนและผู้เรียนท่ามกลางการพัฒนาของปัญญาประดิษฐ์ ไปจนถึงเรียนรู้จากกรณีศึกษาในประเทศไทยที่มีการประยุกต์ใช้ AI

กรกมล ศรีวัฒน์
20 Sep 2023คิดแบบไหน ก็ได้แบบนั้น : เอาตัวรอดด้วยหลักจิตวิทยา
นําชัย ชีววิวรรธน์ พาไปสำรวจ ‘จุดอ่อน’ ของสมองมนุษย์ ที่อยู่ในรูปแบบของ ‘อคติ’ ซึ่งส่งผลต่อการคิด ตัดสินใจ และอารมณ์ต่างๆ หากเราตระหนักถึงเรื่องพวกนี้ขึ้นมาได้ทันการณ์ ก็จะสามารถตัดสินใจได้อย่างรอบคอบมากขึ้น

นำชัย ชีววิวรรธน์
12 Sep 2023คุณคิดว่า AI มองโลกแบบผู้ชายหรือผู้หญิง?
คอลัมน์ ‘สารกันเบื่อ’ เดือนนี้ เอกศาสตร์ สรรพช่าง ชวนตั้งคำถามและขบคิดว่า ความคิดและตัวตนของปัญญาประดิษฐ์ หรือ AI ได้รับอิทธิพลจากสังคมชายเป็นใหญ่มากน้อยแค่ไหน

เอกศาสตร์ สรรพช่าง
30 Aug 2023นักวิทย์ไทยไส้แห้ง (?) : ฟังเสียงที่บอกว่าวิทยาศาสตร์ไม่อาจเบ่งบานในสังคมขาดการสนับสนุนจากรัฐ
101 พาไปตรวจสอบสมมติฐานที่เขาว่ากันว่าอาชีพนักวิทยาศาสตร์หรือนักวิจัยในไทยนั้น ‘ไส้แห้ง’ จนคนไม่เลือกเรียน ฟังเสียง 2 นักวิจัย อดีตนักเรียนทุนรัฐบาลเพื่อเปิดไปสู่ภาพใหญ่ว่ารัฐไทยจริงจังกับการสนับสนุนวิทยาศาสตร์มากแค่ไหน

เพ็ญพิชชา มุ่งงาม
18 Aug 2023ทำไมคนชอบโกหก?
นำชัย ชีววิวรรธน์ เขียนถึงงานวิจัยที่เกี่ยวกับการโกหกของมนุษย์ ตั้งแต่นักการเมืองจนถึงคนใกล้ตัว ทำไมการโป้ปดถึงอยู่ในชีวิตประจำวันของเราอย่างแนบแน่น

นำชัย ชีววิวรรธน์
10 Aug 2023กิจวัตรลำเค็ญในอวกาศ
นําชัย ชีววิวรรธน์ พาไปสำรวจชีวิตบนความสูงกว่า 100 กิโลเมตรเหนือระดับน้ำทะเลของ ‘นักบินอวกาศ’ ที่ซึ่งกิจวัตรธรรมดาสามัญกลายเป็นเรื่องสุดลำเค็ญได้

นำชัย ชีววิวรรธน์
13 Jul 2023ความเจ็บปวดและประโยชน์ที่คาดไม่ถึงจากตัวต่อเลโก้
นําชัย ชีววิวรรธน์ พาสำรวจงานวิจัยที่จะเผยถึงเบื้องหลังความสนุก การเสริมสร้างพัฒนาการ ความเจ็บปวด (ถ้าเผลอไปเหยียบ) และประโยชน์ที่คาดไม่ถึงของตัวต่อพลาสติกยอดนิยมที่ชื่อ ‘เลโก้’

นำชัย ชีววิวรรธน์
20 Jun 2023เลือกตั้งยังไงไม่ให้ ‘เบียว’ ไม่ให้ ‘เบี้ยว’
นำชัย ชีววิวรรธน์ พาไปดูงานวิจัยและผลสำรวจจากหลากประเทศ ว่าด้วยปัจจัยที่ส่งผลต่อการตัดสินใจ ‘ลงคะแนน’ ให้ผู้สมัครจากพรรคใดพรรคหนึ่ง ไล่เรียงตั้งแต่การชี้นำจากสื่อ การทำโพลแบบมีอคติ การหยิบยกประเด็นทางเชื้อชาติ ศาสนามาหาเสียง ไปจนถึงรูปร่างหน้าตาของผู้สมัคร

นำชัย ชีววิวรรธน์
12 May 2023เมื่อ AI ทำได้ทุกอย่าง มนุษย์ควรวางจริยศาสตร์ให้ AI ไหม?
นำชัย ชีววิวรรธน์ เขียนถึงความสามารถของ Generative AI ในการสร้างสิ่งที่ไม่เคยมีอยู่เดิมขึ้นจาก Big Data แต่ความก้าวหน้านี้กลับสร้างความท้าทายด้านจริยธรรมต่อมนุษยชาติ

นำชัย ชีววิวรรธน์
17 Apr 2023ในสังคมที่ต้องการผู้กล้า เราจะรับมือกับ SLAPP การฟ้องปิดปากเรื่องสิ่งแวดล้อมอย่างไร?
วันชัย ตันติวิทยาพิทักษ์ เขียนถึงกรณีการดำเนินคดีเชิงยุทธศาสตร์เพื่อหยุดยั้งการเคลื่อนไหวของภาคประชาชนต่อประเด็นด้านสิ่งแวดล้อม

วันชัย ตันติวิทยาพิทักษ์
17 Mar 2023หรือความขี้เกียจจะช่วยให้มีโอกาสรอดในโลกได้มากขึ้น?
นำชัย ชีววิวรรธน์ เขียนถึงประโยชน์อันคาดไม่ถึงของความขี้เกียจ ที่ช่วยเพิ่มโอกาสมีชีวิตรอดให้มนุษย์และสิ่งมีชีวิตอื่นๆ

นำชัย ชีววิวรรธน์
9 Mar 2023หวั่นใจชำรุด มนุษย์ต่างดาว: จักรวาลแสนกว้างใหญ่ แล้วเมื่อไหร่เอเลียนจะติดต่อเรามาสักที
จะเกิดอะไรขึ้นถ้าวันนี้พรุ่งนี้ มนุษยชาติกับเอเลียนติดต่อกันขึ้นมาได้จริงๆ
จักรวาลกว้างใหญ่ไพศาล จะเป็นไปได้อย่างไรโลกจะเป็นดาวเคราะห์ดวงเดียวที่มีสิ่งมีชีวิต แต่ถึงอย่างนั้น เหตุใดเอเลียนจึงยังไม่เคยติดต่อเรามา มากไปกว่านั้น มนุษย์เราพร้อมแล้วหรือยังหากพวกเขาติดต่อเรามาจริงๆ

พิมพ์ชนก พุกสุข
28 Feb 2023ทำไมนักวิจัยโกง?
นำชัย ชีววิวรรธน์ เขียนถึงระบบการทำงานวิจัยและช่องว่างที่ทำให้เกิดการ ‘โกง’ หรือการทำงานวิจัยอย่างไม่ซื่อสัตย์จนทำให้เกิด ‘เปเปอร์ทิพย์’ ในวงการวิชาการ

นำชัย ชีววิวรรธน์
8 Feb 2023จาก ‘เราพูดอะไรได้บ้าง’ ถึง ‘เราได้ยินอะไรบ้าง’: เมื่ออัลกอริทึมกำลังเปลี่ยนวิธีคิดเรื่องฟรีสปีช
อัครพัชร์ เจริญพานิช เขียนถึงเบื้องหลังอัลกอริทึมของเฟซบุ๊ก ที่ชวนให้เรากลับไปตั้งคำถามต่อ ‘ฟรีสปีช’ ในสังคมออนไลน์ ไปจนถึงว่าสิ่งที่เราพูดไปแล้ว ‘อะไรบ้างที่จะถูกได้ยิน’ และ ‘ใครบ้างที่จะได้ยินสิ่งนั้น’
