ปราบ เลาหะโรจนพันธ์ : เข้าใจสมรภูมิทางการเมืองใหม่ในโลก Social Media
Big data กับการพัฒนาทางการเมืองเกี่ยวอะไรกับชีวิตผู้คน ปราบ เลาหะโรจนพันธ์ ผู้ร่วมก่อตั้งโปรเจ็กต์ rethinkthailand ชวนทำความเข้าใจ
Big data กับการพัฒนาทางการเมืองเกี่ยวอะไรกับชีวิตผู้คน ปราบ เลาหะโรจนพันธ์ ผู้ร่วมก่อตั้งโปรเจ็กต์ rethinkthailand ชวนทำความเข้าใจ
อ่านปรากฏการณ์สังคมไทยร่วมกับ วันชัย ตันติวิทยาพิทักษ์ สื่อและนักเคลื่อนไหวในแวดวงอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมมายาวนาน ผ่านรายการ 101 One-On-One ดำเนินรายการโดย ยิ่งชีพ อัชฌานนท์
เผยเบื้องลึกเกี่ยวกับพาราควอต เปิดเอกสารประกอบการตัดสินใจ ‘ไม่แบน’ ที่รัฐไม่เปิดเผยให้ใครได้อ่าน และเหตุผลที่สารเคมีร้ายแรงจำนวนมากยังอยู่คู่กับสังคมไทย กับ วิฑูรย์ เลี่ยนจำรูญ ผู้อำนวยการมูลนิธิชีววิถี (ไบโอไทย)
Virtual Reality ช่วยสื่อสารทางการเมือง และนำผู้คนไปอยู่ในบรรยากาศและประเด็นทางการเมืองต่างๆ ได้อย่างเข้าถึงและเท่าเทียมมากขึ้น
Eyedropper Fill ชวนดูการใช้โฮโลแกรมประท้วงแทนคนจริงๆ ในสเปน งานนี้ไม่มีใครถูกเรียกปรับทัศนคติแน่นอน
จันจิรา สมบัติพูนศิริ เขียนถึง “กองกำลังไซเบอร์” และ “อินเทอร์เน็ตโทรลลิ่ง” ที่สะท้อนให้เห็นด้านมืดของภาคประชาสังคม และพื้นที่ประชาธิปไตยในโลกยุคใหม่
เมื่อความยุติธรรมไม่มาหา เราควรแก้ปัญหาสไตล์ป้ามากขึ้นหรือไม่? สังคมไทยควรเดินต่อไปอย่างไรเพื่อลดความรุนแรง
หลัง 6 ตุลาคม 2519 ขณะที่ขบวนการนักศึกษาฝั่งการเมืองจับปืนสู้ มีอะไรเกิดขึ้นในขบวนการนักศึกษาฝั่งสิ่งแวดล้อม? 101 ชวน ดร. ไชยณรงค์ เศรษฐเชื้อ ทบทวนประวัติศาสตร์สิ่งแวดล้อมไทยจากมุมมองของอดีตแกนนำนักศึกษา ที่มีทุ่งใหญ่นเรศวรเป็นทั้งจุดเริ่มต้นและเดิมพันล้ำค่า
ชลธร วงศ์รัศมี เปิดใจกลุ่ม “ป้า” ที่เพิ่งเข้าสังกัด “MBK 39” หลังจากเข้าร่วมแสดงจุดยืนเรียกร้องการเลือกตั้งที่หน้าห้างมาบุญครองเมื่อวันที่ 27 มกราคม 2561 และตำรวจได้ ‘ออดิชั่น’ ผู้ชุมนุม 39 คนจากภาพถ่าย เพื่อมารับข้อหาผิด พ.ร.บ.การชุมนุมสาธารณะ พ.ศ. 2558
หาก “MBK 39” คือ วงไอดอล แน่นอนว่า ป้าคือ ‘เซ็นเตอร์’ ของวง ที่ถูกบังคับให้ไปงาน “ปั๊มลายนิ้วมือ”
พันธวัฒน์ เศรษฐวิไล ชวน จักรชัย โฉมทองดี วิพากษ์บทบาทของเอ็นจีโอไทยในช่วงวิกฤตการเมืองตลอดสิบกว่าปีที่ผ่านมา และมองไปข้างหน้าถึงอนาคตการเมืองภาคประชาชน
ปกป้อง จันวิทย์ ตั้งคำถาม ในช่วงเวลาที่สังคมไทยต้องการสื่อสาธารณะมากที่สุด Thai PBS หายไปไหน? 10 ปีของสื่อสาธารณะในสังคมไทย เรามองเห็นอะไร และควรเดินต่อไปอย่างไร เพื่อลดช่องว่างระหว่างความคาดหวังกับความเป็นจริง