fbpx

Books

13 Mar 2024

150 ปี ‘ดรุโณวาท’ : สิ่งพิมพ์ของยุวชนชั้นนำและคำสอนของคนหนุ่มสยาม ในยุคแสวงหาอำนาจแบบอาณานิคม

ภิญญพันธุ์ พจนะลาวัณย์ เขียนถึง ‘ดรุโณวาท’ หนังสือพิมพ์ที่พิมพ์โดยคนไทยฉบับแรก ซึ่งทำหน้าที่เป็นกระบอกเสียงของเหล่าสยามหนุ่มในช่วงหัวเลี้ยวหัวต่อทางอำนาจของรัชกาลที่ 5

ภิญญพันธุ์ พจนะลาวัณย์

13 Mar 2024

Life & Culture

28 Feb 2024

ระเบียบของกระแสสำนึกใน ‘พัทยาและมาหยา’

อาทิตย์ ศรีจันทร์ เขียนถึง ‘พัทยาและมาหยา’ นวนิยายกระแสสำนึกของ ลาดิด (Ladys) ที่แม้จะพูดเรื่องความเว้าแหว่ง ไม่สมบูรณ์ของความทรงจำและความสัมพันธ์อันเป็นเรื่องยอดนิยมในงานวรรณกรรมไทย แต่สิ่งที่ทำให้ ‘พัทยาและมาหยา’ โดดเด่นสำหรับอาทิตย์คือการเลือกใช้เครื่องมือการเล่าเรื่องอันหลากหลายและชวนจับตา

อาทิตย์ ศรีจันทร์

28 Feb 2024

Life & Culture

27 Feb 2024

ทั้งรักทั้งชังทั้งหวานและขมขื่น Paddy Clark Ha Ha Ha

‘นรา’ เล่าถึงนวนิยาย ‘Paddy Clark Ha Ha Ha’ แพดดี้ คลาร์ก ฮา ฮา ฮา ของร็อดดี ดอยล์ ซึ่งสะท้อนชีวิตและการ coming of age ของเด็กชายแพดดี้ได้เสมือนพาผู้อ่านเข้าไปนั่งในใจตัวละคร

นรา

27 Feb 2024

Life & Culture

21 Feb 2024

กษัตริย์และกงสุล ในช่วงสนธิสัญญาเบาว์ริง: การเมืองเรื่องต่างชาติถือครองที่ดิน และมรณกรรมของอาลักษณ์ชาวสยาม

อ่านประวัติศาสตร์เรื่องการถือครองที่ดินของชาวต่างชาติในสยาม และการทูตไทย-อังกฤษผ่านหนังสือ ‘กษัตริย์และกงสุล ในช่วงสนธิสัญญาเบาว์ริง’

ปาณิส โพธิ์ศรีวังชัย

21 Feb 2024

Books

13 Feb 2024

30 ปี ‘โทษฐานที่รู้จักกัน’ : ความขำขันบนความหงุดหงิดจากหนังสือ สู่ราชันย์เดี่ยวไมโครโฟน

ภิญญพันธุ์ พจนะลาวัณย์ เขียนถึง ‘โทษฐานที่รู้จักกัน’ ผลงานเขียนชิ้นแรกของ โน้ต-อุดม แต้พานิช ซึ่งเป็นงานเขียนสไตล์จิกกัดที่สะท้อนยุคสมัยแห่งความน่ารำคาญของชนชั้นกลางไทยในทศวรรษ 2530

ภิญญพันธุ์ พจนะลาวัณย์

13 Feb 2024

Thai Politics

12 Feb 2024

คำถามสุดท้ายของคัทลิน: ชีวิตของความชรา บ้าน และความทรงจำ

อาทิตย์ ศรีจันทร์ เขียนถึง ‘คำถามสุดท้ายของคัทลิน’ รวมเรื่องสั้นของ สุกัญญา หาญตระกูล นักวิจารณ์วรรณกรรมชื่อดังในช่วงทศวรรษ 2520 โดยเฉพาะงานวรรณกรรมสกุลเพื่อชีวิต โดยงานรวมเรื่องสั้นที่มีอายุร่วมสี่ทศวรรษของสุกัญญาเรื่องนี้ ยังทรงพลังทั้งในแง่การเลือกใช้ถ้อยคำ, โครงสร้างของเรื่อง และประเด็นอันร่วมสมัยซึ่งว่าด้วยการอพยพย้ายถิ่น

อาทิตย์ ศรีจันทร์

12 Feb 2024

Politics

6 Feb 2024

สู่การเมืองแห่งความไม่สมควร : ทางออกของประชาธิปไตยที่ยังไม่มีความเสมอภาคอันแท้จริง

อรรถสิทธิ์ สิทธิดำรง เขียนถึงหนังสือของ มาร์ก เดเวนนี่ย์ ‘Towards an Improper Politics – สู่การเมืองแห่งความไม่สมควร’ ว่าด้วยการพัฒนาประชาธิปไตยให้เกิดความเสมอภาคทางเศรษฐกิจ ด้วยแนวคิด ‘การเมืองแห่งความไม่สมควร’

อรรถสิทธิ์ สิทธิดำรง

6 Feb 2024

Life & Culture

18 Jan 2024

“กดขี่ไพร่กว่าจะถึงซึ่งนิพพาน”: การเดินทางของนิราศหนองคาย ผลงานของทิม สุขยางค์ ในรอบร้อยปี

ภิญญพันธุ์ พจนะลาวัณย์ เขียนถึง ‘นิราศหนองคาย’ แต่งโดยหลวงพัฒนพงศ์ภักดี (ทิม สุขยางค์) ในคราวที่ชนชั้นนำสยามยกทัพไปปราบฮ่อเมื่อ พ.ศ. 2418 เนื้อหาที่วิพากษ์วิจารณ์การกดขี่ไพร่และทหารชั้นผู้น้อยอย่างถึงพริกถึงขิง ทำให้นิราศหนองคายกลายเป็นหนังสือต้องห้ามคลาสสิกเล่มหนึ่งในหน้าประวัติศาสตร์ไทย

ภิญญพันธุ์ พจนะลาวัณย์

18 Jan 2024

พิสูจน์-อักษร

28 Dec 2023

…ต่างเป็นโลกทั้งใบของกันและกัน The Road (ถนนสายอำมหิต)

‘นรา’ เขียนถึง The Road ‘ถนนสายอำมหิต’ ของคอร์แม็ค แม็คคาร์ธี กับเรื่องราวการเดินทางของสองพ่อลูกในยุคสมัยหลังโลกล่มสลายและปราศจากความหวัง

นรา

28 Dec 2023

ความน่าจะอ่าน

27 Dec 2023

ความน่าจะอ่าน : หนังสือชวนอ่านรับปี 2024 โดยคอลัมนิสต์ 101

101 ชวนคอลัมนิสต์กว่า 30 คน ร่วมแนะนำหนังสือคนละเล่มแก่คุณผู้อ่าน ต้อนรับปี 2024 มีอะไรบ้าง ไปดูกันได้เลย !

กองบรรณาธิการ

27 Dec 2023

Life & Culture

26 Dec 2023

การเดินทางของวรรณกรรมไทยสมัยใหม่และกลวิธีอันน่าสนใจใน หนึ่งนับวันนิรันดร

อาทิตย์ ศรีจันทร์ เขียนถึง ‘หนึ่งนับวันนิรันดร’ งานวรรณกรรมลำดับล่าสุดของ กิตติศักดิ์ คงคา ผู้หยิบเอาชื่องานวรรณกรรมร่วมสมัยและนัยยะที่มันมีต่อสังคม มาร้อยเรียงเป็นงานเรื่องใหม่ได้อย่างน่าตื่นตา

อาทิตย์ ศรีจันทร์

26 Dec 2023

Books

21 Dec 2023

‘เจ้าชีวิต’ ประวัติศาสตร์ไทยที่ใช้ตอบโต้ The King and I ของฝรั่ง

ภิญญพันธุ์ พจนะลาวัณย์ เขียนถึง ‘เจ้าชีวิต’ พระนิพนธ์ในพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจุลจักรพงษ์ เมื่อชาวตะวันตกวิจารณ์ราชวงศ์ไทยผ่านป๊อบคัลเจอร์ หนังสือเล่มนี้จึงถูกเขียนขึ้นเพื่อแสดงจุดยืนของเครือข่ายกษัตริย์และเป็นการพยายามถ่วงดุลข้อมูลจากฝั่งตะวันตก

ภิญญพันธุ์ พจนะลาวัณย์

21 Dec 2023

Life & Culture

6 Dec 2023

มีเรื่องอยู่มากมายในนวนิยาย “กัลป์วิบัติ”

อาทิตย์ ศรีจันทร์ เขียนถึง ‘กัลป์วิบัติ’ นวนิยายเรื่องแรกโดย อนิธรา ที่พูดถึงเรื่องราวอันแสนร่วมสมัย ไม่ว่าจะประเด็นเรื่องโรคระบาด, ความรุนแรง หรือประเด็นความแหลกสลายของปัจเจก ผ่านเส้นเรื่องกึ่งไซ-ไฟอย่างการข้ามย้อนเวลากลับไปยังอดีตเพื่อจัดการอนาคตภายหน้า

และหากถอยออกมามองภาพรวม นวนิยายซึ่งฟังดูแสนจะดิสโทเปียเรื่องนี้ ก็คล้ายว่าจะสะท้อนสังคมอันแสนเศร้าและแสนร่วมสมัยของเราด้วยเช่นกัน

อาทิตย์ ศรีจันทร์

6 Dec 2023

Social Movement

29 Nov 2023

นักสันติวิธีท้าทายและทำให้ความรุนแรงเป็นเรื่องไร้เหตุผลได้อย่างไร

อรรถสิทธิ์ สิทธิดำรง ชวนมองเหตุผลที่ใช้สร้างความชอบธรรมให้การใช้ความรุนแรงผ่านสายตาของนักสันติวิธี ในหนังสือ Can Political Violence Ever Be Justified?

อรรถสิทธิ์ สิทธิดำรง

29 Nov 2023
1 2 29

MOST READ

Life & Culture

21 Feb 2024

กษัตริย์และกงสุล ในช่วงสนธิสัญญาเบาว์ริง: การเมืองเรื่องต่างชาติถือครองที่ดิน และมรณกรรมของอาลักษณ์ชาวสยาม

อ่านประวัติศาสตร์เรื่องการถือครองที่ดินของชาวต่างชาติในสยาม และการทูตไทย-อังกฤษผ่านหนังสือ ‘กษัตริย์และกงสุล ในช่วงสนธิสัญญาเบาว์ริง’

ปาณิส โพธิ์ศรีวังชัย

21 Feb 2024

Life & Culture

28 Feb 2024

ระเบียบของกระแสสำนึกใน ‘พัทยาและมาหยา’

อาทิตย์ ศรีจันทร์ เขียนถึง ‘พัทยาและมาหยา’ นวนิยายกระแสสำนึกของ ลาดิด (Ladys) ที่แม้จะพูดเรื่องความเว้าแหว่ง ไม่สมบูรณ์ของความทรงจำและความสัมพันธ์อันเป็นเรื่องยอดนิยมในงานวรรณกรรมไทย แต่สิ่งที่ทำให้ ‘พัทยาและมาหยา’ โดดเด่นสำหรับอาทิตย์คือการเลือกใช้เครื่องมือการเล่าเรื่องอันหลากหลายและชวนจับตา

อาทิตย์ ศรีจันทร์

28 Feb 2024

Life & Culture

14 Mar 2024

หนังสือสามก๊ก ยุค ‘คนะราสดร’

นริศ จรัสจรรยาวงศ์ เขียนถึงประวัติศาสตร์ของวรรณคดีจีน ‘สามก๊ก’ ในบรรณพิภพไทย นับตั้งแต่ยุคสมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์ ปฏิวัติ 2475 ถึงยุคปฏิวัติภาษาไทยโดย จอมพล ป. พิบูลสงคราม

นริศ จรัสจรรยาวงศ์

14 Mar 2024