fbpx

Law

6 Feb 2024

อาการก่อนมีประจำเดือน (PMS) ในฐานะข้อต่อสู้ทางกฎหมายอาญา

ดิศรณ์ ลิขิตวิทยาวุฒิ ชวนคิดถึง PMS ในมุมมองของกฎหมายอาญาว่า อาการก่อนมีประจำเดือนส่งผลต่อการก่ออาชญากรรมได้หรือไม่

ดิศรณ์ ลิขิตวิทยาวุฒิ

6 Feb 2024

Life & Culture

26 Dec 2023

ขวากหนามบนเส้นทางการต่อสู้เพื่อ ‘สิทธิทำแท้ง’ ในสังคมที่ยึดมั่นด้วย ‘ศีลธรรมอันดี’ – กฤตยา อาชวนิจกุล

101 สนทนากับ รองศาสตราจารย์ ดร.กฤตยา อาชวนิจกุล จากสถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล ผู้ประสานงานเครือข่ายสนับสนุนทางเลือกของผู้หญิงที่ท้องไม่พร้อม (Choices Network) ถึงแนวทางการต่อสู้ต่อประเด็นดังกล่าว ความคิดเห็นต่อสถานการณ์ทำแท้งที่เกิดขึ้น ไปจนถึงภาพอนาคตที่ยังคงเต็มไปด้วยความหวังต่อสิทธิสตรี

ภัคจิรา มาตาพิทักษ์

26 Dec 2023

Law

7 Nov 2023

จาก ‘No Name Problem’ สู่การคุกคามทางเพศ

สมชาย ปรีชาศิลปกุล ชวนคิดเรื่องการคุกคามทางเพศ จาก ‘No Name Problem’ ที่ยังไม่มีชื่อเรียกในระบบกฎหมาย สู่การพยายามนิยามการคุกคามทางเพศท่ามกลางมุมมองอันแตกต่างหลากหลาย

สมชาย ปรีชาศิลปกุล

7 Nov 2023

Politics

24 Oct 2023

14 ตุลา ถึง 6 ตุลา กับการต่อสู้ของผู้หญิงที่ไม่เคยได้รับการจารึกในหน้าประวัติศาสตร์

ภัคจิรา มาตาพิทักษ์ เขียนถึงบทบาทของสตรีในเหตุการณ์ 14 ตุลาคม 2516 และ 6 ตุลาคม 2519 ที่ประวัติศาสตร์ไทยไม่เคยจารึกถึงผู้หญิงเดือนตุลา

ภัคจิรา มาตาพิทักษ์

24 Oct 2023

Gender & Sexuality

2 Oct 2023

ฟังเสียงจาก ‘ผู้หญิงทำแท้ง’ ในวันที่โทษทางอาญา การตีตรา และอคติทางศีลธรรมบีบให้ผู้หญิงตายทั้งเป็น

101 ชวนร่วมรับฟังเรื่องราวของผู้เคยทำแท้ง ถึงความเจ็บปวดและประสบการณ์อันเลวร้ายจากอคติทางศีลธรรมที่สังคมมีต่อการทำแท้งและการสู้เพื่อทำแท้งเสรี

ภัคจิรา มาตาพิทักษ์

2 Oct 2023

Life & Culture

30 Aug 2023

คุณคิดว่า AI มองโลกแบบผู้ชายหรือผู้หญิง? 

คอลัมน์ ‘สารกันเบื่อ’ เดือนนี้ เอกศาสตร์ สรรพช่าง ชวนตั้งคำถามและขบคิดว่า ความคิดและตัวตนของปัญญาประดิษฐ์ หรือ AI ได้รับอิทธิพลจากสังคมชายเป็นใหญ่มากน้อยแค่ไหน

เอกศาสตร์ สรรพช่าง

30 Aug 2023

Life & Culture

7 Aug 2023

From Online to Real Life : แด่ความรักอันเกิดจาก ‘พรหมลิขิต’ ในนามของ ‘อัลกอริทึม’ – วิลาสินี พนานครทรัพย์

ทำความเข้าใจวัฒนธรรม ‘ปัดขวาหาคู่’ ไปกับ ผศ.ดร.วิลาสินี พนานครทรัพย์ อาจารย์สาขาสังคมวิทยา คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

ภัคจิรา มาตาพิทักษ์

7 Aug 2023

Life & Culture

27 Jun 2023

Pride Month ไพรด์มั้ง? หรือไพรด์ (ดี) ไหม? ว่าด้วยไทยกับการสร้าง Soft Power สีรุ้ง

คอลัมน์ ‘สารกันเบื่อ’ เดือนนี้ เอกศาสตร์ สรรพช่าง เขียนถึง หนทางในการเปลี่ยนประเทศไทยให้กลายเป็น ‘สวรรค์ LGBTQ+’ อย่างแท้จริง

เอกศาสตร์ สรรพช่าง

27 Jun 2023

Life & Culture

16 Jun 2023

Rainbow Washing การตลาดตบตาบนผืนผ้าสีรุ้ง

ช่วง Pride Month ธุรกิจต่างๆ พากันออกมาร่วมเฉลิมฉลองความหลากหลายทางเพศ ทั้งที่จริงแล้วในหลายองค์กรยังมีการเลือกปฏิบัติหรือกระทั่งสนับสนุนการต่อต้าน LGBTIQA+

ฉัตรฑริกา นภาธนาพงศ์

16 Jun 2023

Gender & Sexuality

4 Jun 2023

บางกอกนฤมิตรไพรด์ 2023: อลังการ 6 ขบวนพาเหรดฉลองความหลากหลาย

วันที่ 4 มิถุนายน 2023 คณะทำงานบางกอกนฤมิตรไพรด์ ร่วมกับกลุ่มเครือข่ายนักกิจกรรมเพื่อความหลากหลายทางเพศและกรุงเทพมหานคร จัดงานเดินขบวน บางกอกไพรด์ 2023 (Bangkok Pride 2023) โดยปิดถนนตั้งแต่แยกปทุมวันจนถึงบริเวณแยกราชประสงค์ เพื่อสร้างความเข้าใจเรื่องความหลากหลายและความเท่าเทียม

เมธิชัย เตียวนะ

4 Jun 2023

Politics

24 Mar 2023

สดับเสียงเงียบ จดจำ ‘ตากใบ’ ในรอยแผล หยดน้ำตา และเสียงร่ำร้องของผู้หญิงชายแดนใต้

ภัคจิรา มาตาพิทักษ์ พาย้อนรำลึกและทำความเข้าใจเหตุการณ์ ‘ตากใบ’ ผ่านนิทรรศการบันทึกความทรงจำ ‘สดับเสียงเงียบ: จดจำตากใบ 2547’ จากเสียงบอกเล่าของสตรีที่ต้องสูญเสียบุคคลอันเป็นที่รักไปตลอดกาลจากเหตุการณ์ตากใบ 25 ตุลาคม 2547

ภัคจิรา มาตาพิทักษ์

24 Mar 2023

Life & Culture

29 Aug 2022

‘เรื่องโป๊และตำราเพศ’ ในสมุดจดปกรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2477

นริศ จรัสจรรยาวงศ์ เปิดกรุสมุดจดปกลายรัฐธรรมนูญยุค 2477 ที่ดูเหมือนจะไม่มีอะไร กลับกลายเป็นหนังสือโป๊และตำรากามสูตรที่ ‘แซ่บ’ ถึงใจ ควรค่าแก่การศึกษา

นริศ จรัสจรรยาวงศ์

29 Aug 2022

World

1 Aug 2022

ยกเลิก Roe VS Wade: ‘เถียงกันเรื่องแท้ง’ ในประชาธิปไตยแบบมีตัวแทน+เสรีนิยม 

ชลิดาภรณ์ ส่งสัมพันธ์ อธิบายเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นกับสิทธิการทำแท้งในสหรัฐอเมริกาหลังศาลสูงยกเลิกคำวินิจฉัยกรณี Roe VS. Wade และชวนมองปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นต่อมา รวมถึงสิ่งที่ต้องจับตามองต่อไป

ชลิดาภรณ์ ส่งสัมพันธ์

1 Aug 2022

SIDE B

20 Jul 2022

SIDE B อีกเสียงจากที่เขาบอกว่า “บูมเมอร์ชายไทยไม่เอา #สมรสเท่าเทียม”

ผลการสำรวจของ TIJ พบว่าชายไทยวัย Baby Boomer ไม่เห็นด้วยกับการให้สิทธิใดๆ แก่คู่รัก LGBTQ+ 101 ชวนฟังเสียงคนอีกกลุ่มหนึ่งซึ่งถูกกดทับมานาน

กองบรรณาธิการ

20 Jul 2022

Gender & Sexuality

16 Jun 2022

อ่านปัญหาในชีวิตและแรงสนับสนุนสิทธิ LGBTQ+ จากผลสำรวจเยาวชนของ คิด for คิดส์

คิด for คิดส์ ชวนผู้อ่านทำความเข้าใจความเจ็บปวดที่เยาวชนชาว LGBTQ+ ของไทยต้องเผชิญ พร้อมทั้งสำรวจแรงสนับสนุนของเยาวชนต่อนโยบายที่มุ่งสร้างความเสมอภาคทางเพศสภาพ ผ่านผลสำรวจเยาวชนไทย – คิด for คิดส์ Youth Survey 2022

วรดร เลิศรัตน์

16 Jun 2022
1 2 8

RECOMMENDED

Gender & Sexuality

28 Feb 2024

Rainbow family: สำรวจสิทธิบุพการีเพศหลากหลายในร่างกฎหมายสมรสเท่าเทียม

101 ชวนรับฟังเรื่องราว ความท้าทาย และเงื่อนไขทางสังคมที่คู่รักเพศหลากหลายต้องเผชิญ และตั้งคำถามถึงสิทธิและความคุ้มครองของกฎหมายสมรสเท่าเทียมที่จะครอบคลุมไปถึงตัวบุพการีและบุตรในครอบครัวเพศหลากหลาย

เพ็ญพิชชา มุ่งงาม

28 Feb 2024

Life & Culture

7 Mar 2024

9 เรื่อง 9 ทศวรรษ สุดา พนมยงค์ : ชีวิตระหว่างบรรทัดของประวัติศาสตร์การเมืองไทย

กษิดิศ อนันทนาธร เล่า 9 เรื่องราวชีวิตของ ‘สุดา พนมยงค์’ บุตรสาวของปรีดี พนมยงค์ ในวาระครบรอบ 90 ปี เมื่อวันที่ 2 มีนาคม 2567 ที่ผ่านมา

กษิดิศ อนันทนาธร

7 Mar 2024

Interviews

15 Feb 2024

CCCL Film Festival ในวันที่โลกป่วย เทศกาลภาพยนตร์ต้องเปลี่ยน?

101 สนทนากับ บุษกร สุริยสาร และนคร ไชยศรี จาก CCCL Film Festival ถึงแนวคิด เป้าหมาย และบทบาทของเทศกาลภาพยนตร์ที่สื่อสารประเด็นเฉพาะอย่าง climate change ว่าในวันที่โลกป่วย เทศกาลภาพยนตร์มีที่ทางอย่างไร

ศุภวิชญ์ ศิริสวัสดิ์วัฒนา

15 Feb 2024