Global Affairs
สำรวจระเบียบโลกและความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
Filter
Sort
การต่างประเทศยุคคณะราษฎร: หลักเอกราช การแสวงหาสถานะ และการช่วงชิงความชอบธรรม – พีระ เจริญวัฒนนุกูล
101 สนทนากับ พีระ เจริญวัฒนนุกูล ว่าด้วยการช่วงชิงความชอบธรรมทางการเมือง การแสวงหาสถานะและเอกราชไทยในการเมืองระหว่างประเทศยุคคณะราษฎร


ณรจญา ตัญจพัฒน์กุล
24 Jun 2022สหรัฐฯ กับจีนในสนาม AI: ใครจะเป็นมหาอำนาจโลก?
จิตทิพย์ มงคลชัยอรัญญา ตั้งคำถามต่อการก้าวสู่การเป็นมหาอำนาจ AI ของจีน ผ่านทฤษฎีการแพร่ขยายเทคโนโลยี


จิตทิพย์ มงคลชัยอรัญญา
10 Jun 2022เลือกตั้ง ‘ดาวน์อันเดอร์’ กับความหวังของการเปลี่ยนแปลง
นิติ ภวัครพันธุ์ เขียนถึงการเลือกตั้งใหญ่ครั้งล่าสุดของออสเตรเลียเมื่อกลางเดือนพฤษภาคมที่ผ่านมา โดยพรรคแรงงานได้คะแนนเสียงมากกว่าพรรครัฐบาล ชวนให้ติดตามนโยบายและการแก้ปัญหาสางปมต่างๆ ของออสเตรเลีย ตั้งแต่ความเหลื่อมล้ำ, ชาติพันธุ์ จนถึงภัยธรรมชาติ


นิติ ภวัครพันธุ์
7 Jun 2022วิชาเลือกเสรี
ศุภมิตร ปิติพัฒน์ เขียนถึงศิลปศาสตร์ของผู้นำทางการเมือง ซึ่งเกี่ยวโยงถึง 3 วิธีอ่านหนังสือการเมืองการปกครองไทย: พัฒนาการทางประวัติศาสตร์ (พ.ศ. 2475 – 2540) ของภูริ ฟูวงศ์เจริญ


ศุภมิตร ปิติพัฒน์
7 Jun 2022เชื่อมความรู้ สู่การเปลี่ยนแปลงนโยบายการต่างประเทศที่ก้าวทันโลก คุยกับ อนุสนธิ์ ชินวรรโณ ศูนย์ศึกษาการต่างประเทศ
ในห้วงเวลาที่การต่างประเทศไทยเผชิญต่อความท้าทายครั้งสำคัญ 101 สนทนากับ ดร.อนุสนธิ์ ชินวรรโณ ผู้อำนวยการศูนย์ศึกษาการต่างประเทศ ถึงทิศทางการเปลี่ยนแปลงของโลกและการปรับปรุงนโยบายการต่างประเทศไทยด้วยองค์ความรู้ ไปจนถึงเอกภาพของการต่างประเทศไทยและนโยบายการทูตแบบไม้ไผ่กลางความผันผวน


ณรจญา ตัญจพัฒน์กุล
3 Jun 2022ความย้อนแย้งในสงครามรัสเซียบุกยูเครน
ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ ชวนมองประวัติศาสตร์การต่อสู้บนฐานทางอุดมการณ์ของรัสเซียในอดีต อันสะท้อนให้เห็นความย้อนแย้ง (paradox) ของสงครามรัสเซียบุกยูเครนเมื่อมองกลับมายังปัจจุบัน


ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ
5 May 2022รู้จัก ‘เผด็จการนักปลุกปั่น’ การปรับตัวของท่านผู้นำในยุคอินเทอร์เน็ต
รพีพัฒน์ อิงคสิทธิ์ ชวนดูเทรนด์ผู้นำเผด็จการในศตวรรษที่ 21 ที่เปลี่ยนวิธีกระชับอำนาจจากการใช้กำลัง สู่การปลุกปั่นด้วยการใช้ข้อมูลข่าวสาร


รพีพัฒน์ อิงคสิทธิ์
1 May 2022ราคาของ ‘เรื่องโง่ๆ’
คอลัมน์ สารกันเบื่อ เดือนนี้ เอกศาสตร์ สรรพช่าง เขียนถึงสารพัด ‘ราคา’ และ ‘ค่าเสียหาย’ ที่สูญเสียไปในสงครามรัสเซีย-ยูเครน


เอกศาสตร์ สรรพช่าง
28 Apr 2022อาชญากรรมสงคราม (war crimes) : อาชญากรรมของผู้ฝ่าฝืนกฎการทำสงคราม ไม่ใช่อาชญากรรมของผู้ก่อสงคราม
จากกรณีสงครามรัสเซียยูเครน ปกป้อง ศรีสนิท ชวนทำความเข้าใจ ‘อาชญากรรมสงคราม’ และความเป็นไปได้ในการดำเนินคดีอาชญากรรมสงครามในศาลอาญาระหว่างประเทศ


ปกป้อง ศรีสนิท
19 Apr 2022ปูตินไม่ชนะ แต่อาจไม่แพ้
อาร์ม ตั้งนิรันดร์ วิเคราะห์ถึง สงครามยืดเยื้อระหว่างรัสเซีย-ยูเครนว่าคือ ‘ความเพลี่ยงพล้ำแต่ไม่พ่ายแพ้’ ของรัสเซีย เพราะมองว่าตนเองสามารถบรรลุเป้าหมายปฏิบัติการทางการทหารได้ในระดับหนึ่ง และยังมีเดิมพันต่อโลกตะวันตกว่าจะทนผลย้อนกลับจากมาตรการคว่ำบาตรทางเศรษฐกิจได้หรือไม่


อาร์ม ตั้งนิรันดร
6 Apr 2022‘เสถียรภาพในความขัดแย้ง’: บทบาทของอาวุธนิวเคลียร์ในสงครามรัสเซีย-ยูเครน
จิตทิพย์ มงคลชัยอรัญญา วิเคราะห์พฤติกรรมการไม่แทรกแซงของมหาอำนาจตะวันตกที่ครอบครองอาวุธนิวเคลียร์ในวิกฤตการณ์รัสเซีย-ยูเครน ผ่านแนวคิด ‘ความย้อนแย้งของความมีเสถียรภาพ-ความไร้เสถียรภาพ’ (stability-instability paradox)


จิตทิพย์ มงคลชัยอรัญญา
1 Apr 2022ไม่มีรัสเซียในอุตสาหกรรมหนัง เกม และฟุตบอล เมื่อโลกพร้อมใจกันหันหลังให้รัสเซีย
ภายใต้บริบทสงครามระหว่างรัสเซีย-ยูเครน ที่ยังระอุอยู่ทุกขณะ เมื่อโลกพร้อมใจกันคว่ำบาตรทางเศรษฐกิจรัสเซียเพื่อแสดงจุดยืนต่อต้านการรุกราน และคอลัมน์ PopCapture ก็พาสำรวจโลกของการคว่ำบาตร ที่มีมากกว่าด้านการเงิน แต่หมายรวมถึงด้านวัฒนธรรมที่ชวนบาดเจ็บไม่แพ้กันด้วย


พิมพ์ชนก พุกสุข
30 Mar 2022Crisis beyond Ukraine: มองวิกฤตมนุษยธรรม-กฎหมายระหว่างประเทศ-ความมั่นคง ผ่านสงครามรัสเซีย-ยูเครน
101 ชวนถอดรหัส ‘วิกฤต’ ที่ไกลกว่าวิกฤตความขัดแย้งรัสเซีย-ยูเครน ทำไมกลไกกฎหมายระหว่างประเทศที่ควรจะรักษาสันติภาพโลกเอาไว้จึงล้มเหลว? การเมืองมหาอำนาจจะเดินหน้าไปทางไหนต่อ? และที่สำคัญที่สุดยิ่งกว่าสิ่งอื่นใด ‘มนุษย์’ อยู่ตรงไหนในสมการความขัดแย้งครั้งนี้?


ณรจญา ตัญจพัฒน์กุล
28 Mar 2022บทเรียนจากการถล่มเลนินกราดถึงสมรภูมิเคียฟ
วันชัย ตันติวิทยาพิทักษ์ เล่าย้อนเมื่อคราวเที่ยวรัสเซียปี 2017 รำลึกถึงประวัติศาสตร์อันขมขื่นของรัสเซียช่วงที่โดนบุกโดยกองทัพนาซีเยอรมันช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง อันสะท้อนภาพถึงสิ่งที่ยูเครนกำลังเผชิญในปัจจุบัน


วันชัย ตันติวิทยาพิทักษ์
22 Mar 2022ผลกระทบและแนวทางการรับมือของไทยจากสถานการณ์สงครามในยูเครน
ปิติ ศรีแสงนาม ชวนมองผลกระทบของสงครามรัสเซีย-ยูเครน ที่มีต่อประเทศไทย ทั้งในแง่เศรษฐกิจและการเมืองระหว่างประเทศ พร้อมเสนอแนะแนวทางการรับมือ


ปิติ ศรีแสงนาม
16 Mar 2022โตเกียวเสียขวัญ เมื่อเสียงปืนสนั่นฟ้ายูเครน
เมื่อสงครามรัสเซีย-ยูเครน สร้างแรงสั่นสะเทือนต่อทั่วโลก ธีวินท์ สุพุทธิกุล เขียนถึง ระเบียบความมั่นคงบนกลไกการป้องปรามที่สั่นคลอนในเอเชียตะวันออก ซึ่งก่อให้เกิดความไม่แน่นอนและไม่ไว้เนื้อเชื่อใจในระบบพันธมิตรระหว่างญี่ปุ่น-สหรัฐฯ อันเป็นผลจากการรับประกันความมั่นคงและการตอบสนองที่ล้มเหลวของชาติพันธมิตรยุโรปและสหรัฐฯ ในวิกฤตยูเครน

