แม่แห่งจัตุรัสมาโย : แม่ที่ลุกขึ้นสู้กับเผด็จการ เพราะลูกโดนอุ้มหาย
โกษม โกยทอง เขียนถึงเรื่องราวกลุ่มแม่แห่งจัตุรัสมาโย ที่ก่อตั้งขึ้นในปี 1977 เพื่อถามหาลูกที่หายไปจาก ‘สงครามสกปรก’ ที่รัฐบาลเผด็จการอาร์เจนตินาทำสงครามกับประชาชน จนเป็นจุดเร่ิมต้นการล่มสลายของเผด็จการ

โกษม โกยทอง
17 ก.พ. 2021ไวรัสโควิด-19 กับลาตินอเมริกา
เชาวฤทธิ์ เชาว์แสงรัตน์ เขียนถึงผลกระทบจากสถานการณ์โควิด-19 ที่ยิ่งซ้ำเติมปัญหาความเหลื่อมล้ำและความยากจนในภูมิภาคลาตินอเมริกาให้ทวีความรุนแรงขึ้น

เชาวฤทธิ์ เชาว์แสงรัตน์
4 ก.พ. 2021ชาตินิยมลาตินอเมริกาในบริบทของโลกาภิวัตน์ (2)
เชาวฤทธิ์ เชาว์แสงรัตน์ เขียนบทความเกี่ยวกับความสัมพันธ์ของโลกาภิวัตน์กับชาตินิยมในบริบทของลาตินอเมริกา (ตอนที่ 2)

เชาวฤทธิ์ เชาว์แสงรัตน์
10 ม.ค. 2021ชาตินิยมลาตินอเมริกาในบริบทของโลกาภิวัตน์ (1)
เชาวฤทธิ์ เชาว์แสงรัตน์ เขียนบทความเกี่ยวกับความสัมพันธ์ของโลกาภิวัตน์กับชาตินิยมในบริบทของลาตินอเมริกา

เชาวฤทธิ์ เชาว์แสงรัตน์
7 ธ.ค. 2020ดีเอโก อาร์มันโด มาราโดนา: เทวทูตแห่งฟุตบอลผู้มีใบหน้าเปื้อนฝุ่นกับชีวิตแห่งการต่อต้าน
ตฤณ ไอยะรา เขียนถึงห้วงชีวิตของดีเอโก มาราโดนา สมัยที่เป็นนักฟุตบอลผู้ยิ่งใหญ่ เชื่อมโยงกับประวัติศาสตร์อาร์เจนตินา ชีวิตของมาราโดนาสะท้อนอัตลักษณ์ของชาวอาร์เจนตินาอย่างไรบ้าง

ตฤณ ไอยะรา
26 พ.ย. 2020นโยบายการต่างประเทศของโคลอมเบียในคริสต์ศตวรรษที่ 21
เชาวฤทธิ์ เชาว์แสงรัตน์ เขียนถึงนโยบายการต่างประเทศของโคลอมเบียในคริสต์ศตวรรษที่ 21 ผ่านทาง 3 กรณีศึกษาที่น่าสนใจ

เชาวฤทธิ์ เชาว์แสงรัตน์
2 พ.ย. 2020การอุ้มหายในลาตินอเมริกาในช่วงสงครามเย็น: กรณีศึกษา Operation Condor (2)
เชาวฤทธิ์ เชาว์แสงรัตน์ เขียนถึงรายละเอียดของ Operation Condor ซึ่งเป็นความร่วมมือและการกระทำทางยุทธวิธีทางทหารอย่างลับๆ ในลาตินอเมริกาช่วงสงครามเย็น เพื่อกำจัดฝ่ายซ้าย พวกหัวก้าวหน้า และผู้เห็นต่าง

เชาวฤทธิ์ เชาว์แสงรัตน์
4 ต.ค. 2020เมื่อชีวิตไม่ใช่แค่สถิติ: การจดจำผู้ถูกบังคับให้สูญหายผ่านผืนผ้าของหญิงชาวชิลีในช่วงเผด็จการทหาร
สิรินทร์ มุ่งเจริญ เขียนถึง ‘อาร์ปิเญราส’ ผืนผ้าที่หญิงชิลีถักทอถึงเรื่องราวของบุคคลที่ตัวเองรักที่สูญหายหรือเสียชีวิตจากการปราบปรามของนายพลปิโนเชต์

กองบรรณาธิการ
15 ก.ย. 2020การอุ้มหายในลาตินอเมริกาในช่วงสงครามเย็น: กรณีศึกษา Operation Condor (1)
เชาวฤทธิ์ เชาว์แสงรัตน์ ย้อนดูที่มาของ Operation Condor ซึ่งเป็นความร่วมมือและการกระทำทางยุทธวิธีทางทหารอย่างลับๆ ในลาตินอเมริกาช่วงสงครามเย็น เพื่อกำจัดฝ่ายซ้าย พวกหัวก้าวหน้า และผู้เห็นต่าง

เชาวฤทธิ์ เชาว์แสงรัตน์
8 ก.ย. 2020ห้าสิบปีแห่งความพยายามที่ล้มเหลวของระบอบสังคมนิยมประชาธิปไตยในชิลี
เชาวฤทธิ์ เชาว์แสงรัตน์ รำลึกถึง 50 ปีแห่งความพยายามที่ล้มเหลวในการสร้างระบอบสังคมนิยมประชาธิปไตยในชิลี ภายใต้การนำของอดีตประธานาธิบดีซัลบาดอร์ อาเยนเด

เชาวฤทธิ์ เชาว์แสงรัตน์
7 ก.ค. 2020การเมืองสมัยใหม่ที่วุ่นวายของเวเนซุเอลา: จากชาเวซถึงมาดูโร
เชาวฤทธิ์ เชาว์แสงรัตน์ เขียนถึงความยุ่งเหยิงของการเมืองเวเนซุเอลา นับแต่ อูโก ชาเวซ ชนะเลือกตั้งในปี 1998 จนถึงยุคนิโกลัส มาดูโร ที่เป็นทายาททางการเมืองหลังชาเวซถึงแก่อสัญกรรม

เชาวฤทธิ์ เชาว์แสงรัตน์
1 มิ.ย. 2020หนีเสือปะจระเข้: สถานการณ์COVID-19 ของผู้ลี้ภัยชาวเวเนซุเอลาในโคลอมเบีย
เชาวฤทธิ์ เชาว์แสงรัตน์ เขียนถึงปัญหาที่พรมแดนเวเนซุเอลา-โคลอมเบีย ที่ผู้ลี้ภัยชาวเวเนซุเอลาเข้าไม่ถึงบริการสาธารณสุข และรัฐบาลเวเนซุเอลาเองก็ไม่พร้อมรับประชาชนของตัวเองกลับ

เชาวฤทธิ์ เชาว์แสงรัตน์
5 พ.ค. 2020โรคระบาดปั่น ลาตินอเมริกาป่วน กับ เชาวฤทธิ์ เชาว์แสงรัตน์
101 ชวน ดร.เชาวฤทธิ์ เชาว์แสงรัตน์ นักวิชาการด้านลาตินอเมริกาศึกษา สำรวจสถานการณ์ COVID-19 ในลาตินอเมริกา

วจนา วรรลยางกูร
30 เม.ย. 2020คิวบากับนโยบายการทูตด้านสาธารณสุข
เชาวฤทธิ์ เชาว์แสงรัตน์ เขียนถึงนโยบายการทูตด้านสาธารณสุขของคิวบา ที่ช่วยส่งเสริมภาพลักษณ์ในสายตาโลกและได้รับความช่วยเหลือกลับมาในรูปแบบต่างๆ

เชาวฤทธิ์ เชาว์แสงรัตน์
10 เม.ย. 2020สองทศวรรษแห่งความสัมพันธ์ที่แน่นแฟ้น ‘คิวบา-เวเนซุเอลา’
เชาวฤทธิ์ เชาว์แสงรัตน์ เขียนถึง 20 ปีความสัมพันธ์อันแนบแน่นของคิวบา-เวเนซุเอลา นับแต่ อูโก ชาเวซ ชนะเลือกตั้งในเวเนซุเอลาปี 1999 และนำแนวทางสังคมนิยมแบบคิวบามาปรับใช้
