Film & Music
Film & Music
ดูหนัง ฟังดนตรี ทำความเข้าใจสังคมการเมืองผ่านภาพยนตร์และเสียงเพลง
Filter
Sort
กาลครั้งหนึ่งบนดวงจันทร์ Apollo 10 1/2 : A Space Age Adventure
‘นรา’ รีวิวอนิเมชัน Apollo 10 1/2 A Space Age Adventure ผลงานของริชาร์ด ลิงค์เลเทอร์ เล่าภารกิจเหยียบดวงจันทร์ของยานอพอลโลและสังคมอเมริกาปลายทศวรรษ 1960 ผ่านสายตาเด็กๆ


นรา
10 May 2022ฮันนาห์ อาเรนต์: เมื่ออำนาจนิยมเปิดทางให้เจ้าหน้าที่รัฐ ‘ฆ่า’ ในสภาวะไร้คิด
ปรัชญาว่าด้วยการไร้คิด (thoughtlessness) โดย ฮันนาห์ อาเรนต์ นักทฤษฎีการเมืองชาวเยอรมันเชื้อสายยิว ที่เธอเห็นว่าเป็นชนวนสำคัญให้เจ้าหน้าที่นาซีกล้าสังหารหมู่ชาวยิวกว่าหกล้านคนโดยไม่รู้สึกผิด


พิมพ์ชนก พุกสุข
5 May 2022Asian is rising up? ศิลปินเอเชียเติบโตในอุตสาหกรรมเพลงอเมริกาแล้ว?
จากความสำเร็จของ Milli บนเวที Coachella สุดารัตน์ พรมสีใหม่ ชวนย้อนดูพื้นที่ของการเติบโตของศิลปินเอเชียในอุตสาหกรรมเพลงอเมริกา


สุดารัตน์ พรมสีใหม่
29 Apr 2022หน่าฮ่าน เดอะซีรีส์: เมื่อการเต้นคือการต่อต้าน และหน่าฮ่านคือผู้คน
คอลัมน์ Cinema of Resistance เดือนนี้ วิวัฒน์ เลิศวิวัฒน์วงศา เขียนถึง ‘หน่าฮ่าน เดอะซีรีส์’ เรื่องราวของกลุ่มวัยรุ่นอีสานที่มีความต้องการของตัวเอง และต้องต่อสู้กับ ‘ระบบ’ ที่กดพวกเขาอยู่โดยไม่รู้ตัว


วิวัฒน์ เลิศวิวัฒน์วงศา
25 Apr 2022REVOLUTION OF OUR TIMES ยามเมื่อเสียงประท้วงดังกึกก้อง จากผองผู้รักประชาธิปไตย… ในฮ่องกง
‘กัลปพฤกษ์’ เขียนถึงสารคดีที่ฉายภาพการประท้วงและการต่อสู้กับอำนาจรัฐในฮ่องกง Revolution of Our Times (2021) ที่มีต้นธารมาจากการต้านร่างกฎหมายส่งผู้ร้ายข้ามแดน มาสู่การเรียกร้องประชาธิปไตยและเสรีภาพที่เต็มไปด้วยหัวจิตหัวใจของเหล่าประชาชนผู้เป็นเจ้าของอำนาจอันยิ่งใหญ่ที่แท้จริง!


‘กัลปพฤกษ์’
25 Apr 2022เบลฟาสต์ & ฟีล เลิฟ Belfast
‘นรา’ ขอแนะนำให้รับชม Belfast หนังเข้าชิงรางวัลออสการ์ของเคนเน็ธ บรานาห์ ที่มีเสน่ห์จับอกจับใจไม่แพ้ใครในบรรดาผู้เข้าชิงด้วยกัน


นรา
18 Apr 2022THE RESCUE – ‘ภารกิจกู้ภัย’ ปาฏิหาริย์บีบหัวใจ เหนือวิสัยผู้เชี่ยวชาญ
‘กัลปพฤกษ์’ เขียนถึงสารคดี The Rescue (2021) ที่จับจ้องไปยังภารกิจกู้ภัยจากเหตุการณ์ทีมนักฟุตบอลเยาวชน ‘หมูป่า’ จากเชียงราย ติดอยู่ในถ้ำหลวง จังหวัดเชียงราย โดยนับเป็นหนึ่งในสารคดีที่สำรวจภารกิจนี้ได้มีมิติความเป็นมนุษย์อย่างที่สุด


‘กัลปพฤกษ์’
27 Mar 2022ภาพยนตร์จะไม่ตาย แต่รอการท้าทายอยู่เสมอ : ไกรวุฒิ จุลพงศธร
ไกรวุฒิ จุลพงศธร อาจารย์ประจำภาควิชาการภาพยนตร์และภาพนิ่ง คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มองการขยับอีกครั้งของโลกภาพยนตร์และการศึกษาภาพยนตร์ เมื่อเทคโนโลยีเปลี่ยน แต่ภาพยนตร์จะยังคงรับใช้มนุษย์บนแก่นวิธีคิดเดิมในฐานะ ‘ภาพสะท้อน’ โลกและมนุษย์


วจนา วรรลยางกูร
23 Mar 2022ย้อนความทรงจำ เบื้องหลังความคิดและการถ่ายทำภาพยนตร์ ‘memoria’ สัมภาษณ์พิเศษกับ อภิชาติพงศ์ วีระเศรษฐกุล
‘กัลปพฤกษ์’ สนทนากับ อภิชาติพงศ์ วีระเศรษฐกุล ถึงหนังลำดับล่าสุด Memoria (2021) ที่คว้ารางวัล Jury Prize จากเทศกาลหนังเมืองคานส์ปีล่าสุด ถึงกระบวนการถ่ายทำที่โคลอมเบีย, การทำงานที่ออกจากความเคยชิน, งานเสียงซึ่งเป็นเสมือนหัวใจสำคัญของเรื่อง ตลอดจนโปรเจ็กต์หนังเรื่องต่อไป


‘กัลปพฤกษ์’
10 Mar 2022ข้อเสนอที่ไม่อาจปฏิเสธ The Godfather
ในวาระครบรอบ 50 ปี ‘นรา’ เขียนถึงหนึ่งในหนังมาเฟียขึ้นหิ้ง ‘The Godfather’ ผลงานกำกับโดยฟรานซิส ฟอร์ด คอปโปลา


นรา
8 Mar 2022The Killing of the Sacred Deer หากความพิโรธโกรธชังมีรูปร่างหน้าตาเหมือนมนุษย์
Watchman เขียนถึงหนังล้างแค้น The Killing of the Sacred Deer ที่ทาบทับกับโศกนาฏกรรมกรีก


Watchman
7 Mar 2022‘Memoria’ เงี่ยสดับรับสัมผัส ย้อนสังสารวัฏ แห่งห้วงความทรงจำ
‘กัลปพฤกษ์’ เขียนถึง ‘Memoria’ (2021) หนังลำดับล่าสุดของ อภิชาติพงศ์ วีระเศรษฐกุล ที่คว้ารางวัล Jury Prize จากเทศกาลหนังเมืองคานส์ปีล่าสุดมาได้ โดยชี้ว่า นี่คือหนังที่สดใหม่หากแต่ชวนคุ้นเคยในฐานะความเป็นนักทำหนังทดลองของอภิชาติพงศ์เป็นอย่างยิ่ง


‘กัลปพฤกษ์’
4 Mar 2022ศิลปะแห่งการแสดงและกำกับ บทสรุป Masterclass ของทิลดา สวินตัน และ อภิชาติพงศ์ วีระเศรษฐกุล
101 สรุปบทสนทนาจากงาน Massterclass ของ ทิลดา สวินตันและอภิชาติพงศ์ วีระเศรษฐกุล ที่หอภาพยนตร์เป็นผู้จัด เพื่อเป้นส่วนหนึ่งของการเข้าฉายภาพยนตร์เรื่อง Memoria (2021) หนังลำดับล่าสุดของอภิชาติพงศ์ที่คว้ารางวัล Jury Prize จากเทศกาลหนังเมืองคานส์ปีล่าสุด


พิมพ์ชนก พุกสุข
3 Mar 2022“ประวัติศาสตร์กระจ้อยร่อย ภาคสอง: Beautiful Things” สิ่งงดงามในทัศนมิติแห่งความทรงจำ
‘กัลปพฤกษ์’ เขียนเล่าถึงนิทรรศการ ‘ประวัติศาสตร์กระจ้อยร่อย’ หรือ A Minor History ภาคสองของ อภิชาติพงศ์ วีระเศรษฐกุล ซึ่งดูเหมือนว่านิทรรศการนี้จะสะท้อนแนวคิด ตัวตนของผู้กำกับชาวไทยได้ในอีกแง่หนึ่งอย่างน่าสนใจทีเดียว


‘กัลปพฤกษ์’
22 Feb 2022All of Us Are Dead: ซอมบี้ บูลลี่ และ อุปลักษณ์ของความรุนแรงในโรงเรียน
คอลัมน์ ชาติพันธุ์ฮันกุก จักรกริช สังขมณี เขียนถึงซีรีส์สัญชาติเกาหลีใต้ที่ออกฉายทางเน็ตฟลิกซ์อย่าง All of Us Are Dead เมื่อซอมบี้ไม่เพียงเป็นเรื่องของคนตาย แต่ยังสะท้อนอำนาจนิยมและความรุนแรงในโรงเรียนอีกด้วย


จักรกริช สังขมณี
11 Feb 2022ขวากหนาม-ความฝัน-วันเวลา tick, tick…BOOM!
‘นรา’ เขียนถึง tick, tick… BOOM! ภาพยนตร์มิวสิคัลที่ได้รับการดัดแปลงจากละครบรอดเวย์เล่าชีวิตของโจนาธาน ลาร์สัน ผู้เขียนบท

