Lifestyle
Lifestyle
สำรวจวิถีชีวิตผู้คนและวัฒนธรรมทั่วโลก ผ่านเรื่องเล่าของอาหาร กีฬา และการเดินทาง
Filter
Sort
อินโดนีเซีย – มาเลเซีย : ความขัดแย้งที่สะท้อนผ่านเกมฟุตบอลในภูมิภาคอาเซียน
คอลัมน์ The Rivalry เดือนนี้ ว่าด้วยความขัดแย้งของสองประเทศเพื่อนบ้านในอาเซียนอย่าง ‘อินโดนีเซีย-มาเลเซีย’ ที่มีพรมแดนใกล้กันและมีวัฒนธรรมหลายอย่างคล้ายกันจนเกิดเป็นการแย่งชิงความเป็นเจ้าของ

สมศักดิ์ จันทวิชชประภา
19 Jan 2023“ผมปวด…แต่ไม่อยากไปห้องน้ำ” ทำความรู้จักนิสัยการเข้าส้วมของเด็กญี่ปุ่น
สุภา ปัทมานันท์ เขียนถึงนิสัยการ ‘กลั้นอึ’ ของเด็กญี่ปุ่น ซึ่งมีสาเหตุมาจากหลายอย่าง หนึ่งในนั้นคือการที่เด็กไม่ชินกับส้วมนั่งยองแบบญี่ปุ่นในโรงเรียน คนญี่ปุ่นแก้ปัญหานี้อย่างไร

สุภา ปัทมานันท์
16 Jan 2023ปณิธานปีใหม่
นำชัย ชีววิวรรธน์ เขียนถึงงานวิจัยสำรวจการตั้งปณิธานปีใหม่ของคนยุคใหม่ คนกลุ่มไหนบ้างที่มักจะตั้ง New Year Resolution และส่วนใหญ่ทำสำเร็จกันบ้างไหม อ่านรายละเอียดได้จากบทความนี้

นำชัย ชีววิวรรธน์
12 Jan 2023รัฐไทย/สยามกับชื่อบ้านนามเมืองล้านนา
คอลัมน์ ‘ของบ่เล่ารู้ลืม’ เดือนนี้ พริษฐ์ ชิวารักษ์ เขียนถึงการ ‘ตั้งชื่อบ้านนามเมือง’ ของล้านนาโดยรัฐไทย/สยาม ที่สะท้อนวิธีสร้างประวัติศาสตร์แบบใหม่และการแผ่อำนาจจากส่วนกลาง โดยไม่สอดคล้องกับรากของพื้นที่

พริษฐ์ ชิวารักษ์
12 Jan 2023The Doraemon Exhibition: จากการ์ตูนถึงการสร้างชาติของคนญี่ปุ่น
คอลัมน์ ‘สารกันเบื่อ’ เดือนนี้ เอกศาสตร์ สรรพช่าง พาชมนิทรรศการ ‘The Doraemon Exhibition Singapore 2022’ ที่สะท้อนถึงความแข็งแกร่งของพลัง soft power ญี่ปุ่น

เอกศาสตร์ สรรพช่าง
11 Jan 2023Agony Uncle* Hema ลุงเฮม่าตอบปัญหา: ว่าด้วยคำแห่งปี และรายได้ของคนวัย 30
ลุงเฮม่าตอบปัญหาว่าด้วย คำแห่งปีของภาษาอังกฤษและภาษาไทย คำเหล่านี้สื่อความหมายอะไรบ้าง และข้อถกเถียงค่าแรงของคนวัย 30

ภาณุ บุรุษรัตนพันธุ์
27 Dec 2022จริงหรือไม่ที่อาหารเหนือไม่ ‘แมส’: อดีต ปัจจุบัน และอนาคตของกระแสวัฒนธรรมล้านนา
คอลัมน์ ‘ของบ่เล่ารู้ลืม’ ส่งท้ายปี 2022 ว่าด้วยเรื่องความแมสของอาหารเหนือ ที่พาเราไปตั้งคำถามที่ใหญ่กว่านั้นว่า ความเป็นล้านนาคืออะไร?

พริษฐ์ ชิวารักษ์
25 Dec 2022สเปน-โมร็อกโก: คู่ปรับข้ามทวีปบนความขัดแย้งแห่งประวัติศาสตร์
คอลัมน์ The Rivalry เดือนนี้ สมศักดิ์พาไปท่องประวัติศาสตร์ความขัดแย้งระหว่างโมร็อกโก-สเปน ประเทศต่างทวีปที่ห่างกันแค่ช่องแคบยิบรอลตาร์กั้น

สมศักดิ์ จันทวิชชประภา
14 Dec 2022‘Soft power’ ไทย: ฝันลมๆ แล้งๆ ของคนใช้แต่อำนาจ
อะไรทำให้ ‘ซอฟต์พาวเวอร์’ แบบไทยๆ ไม่ไปไหนไกลสักที นิติ ภวัครพันธุ์ ชวนสำรวจกลไกในการสร้างซอฟต์พาวเวอร์ที่ผูกโยงกับสังคม การเมือง และเสรีภาพอย่างแยกออกไม่ขาด -และอาจเป็นเหตุผลว่าทำไมซอฟต์พาวเวอร์ในไทยจึงเป็นได้เพียงความฝันที่เรายังไปไม่ถึงสักที

นิติ ภวัครพันธุ์
4 Dec 2022ฮอยอัน – ณ ที่สิ้นสุดของบางสิ่ง
คอลัมน์ Sideway เดือนนี้ว่าด้วยการเดินทางใน ‘ฮอยอัน’ เมืองท่าที่เคยรุ่งเรืองที่สุดแห่งหนึ่งในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

ปาณิส โพธิ์ศรีวังชัย
29 Nov 2022Agony Uncle* Hema ลุงเฮม่าตอบปัญหา: ว่าด้วยความเป็นหน้าเป็นตาของชุดราตรี และดินเนอร์เอเปคในจินตนาการ
ลุงเฮม่าตอบปัญหาว่าด้วย การหา ชุดราตรี ไปงานแต่งงานโดยไม่ซ้ำกัน และดินเนอร์เอเปคในจินตนาการที่แสดงออกถึงความเป็นไทย

ภาณุ บุรุษรัตนพันธุ์
28 Nov 2022‘Truman babies’ อีกด้านของการบันทึกชีวิตลูกให้คนทั้งโลกดู
คอลัมน์ Popcapture ว่าด้วยชีวิตของเด็กๆ ที่เติบโตในครอบครัวที่ถ่ายวิดีโอพวกเขาแล้วโพสต์ลงโซเชียลมีเดียตั้งแต่ยังเล็ก -หรือเรียกกันว่า Truman babies- นำมาสู่คำถามเรื่องการละเมิดความเป็นส่วนตัวและความปลอดภัยของเด็กๆ เอง ในโลกที่คนแปลกหน้าต่างพากันรู้รายละเอียดและความเคลื่อนไหวของพวกเขา

พิมพ์ชนก พุกสุข
28 Nov 2022101 In Focus Ep.156 : การเมืองในบอลโลก
101 In Focus สัปดาห์นี้ชวนคุยว่าด้วยการเมืองเบื้องหลังฟุตบอลโลก เราจะมองเรื่อง ‘นอกสนาม’ อย่างไรให้แหลมคม เมื่อฟุตบอลไม่ใช่แค่การส่งลูกไปมาในสนามเท่านั้น แต่ยังมีเรื่องอีกมากมายอยู่หลังผืนหญ้าอันยิ่งใหญ่นี้

กองบรรณาธิการ
25 Nov 2022เปลก็ไกว ดาบก็แกว่ง: ผู้หญิงล้านนากับการสงคราม
คอลัมน์ ‘ของบ่เล่ารู้ลืม’ เดือนนี้พริษฐ์ ชิวารักษ์ เขียนถึงนักรบหญิงชาวล้านนา ที่มีวีรกรรมจดจารเอาไว้ในประวัติศาสตร์ เพื่อสะท้อนว่าหญิงล้านนามีบทบาทมากกว่าการเป็นแม่บ้านแม่เรือน

พริษฐ์ ชิวารักษ์
24 Nov 2022ทำอาชีพอิสระได้อะไรบ้าง
วันชัย ตันติวิทยาพิทักษ์ เขียนถึงประสบการณ์ส่วนตัวหลังจากลาออกจากงานประจำมาทำงานในฐานะฟรีแลนซ์ ตลอดระยะเวลา 4 ปี วันชัยได้เรียนรู้ 10 สิ่งจากการเป็นนายของตัวเองในบทความนี้

วันชัย ตันติวิทยาพิทักษ์
24 Nov 2022เมื่อเจ้าพ่อเจ้าแม่แห่งบ้านหนองขาวกลับมาร่ายรำ : หมดยุค social distancing ระหว่าง ‘คน’ กับ ‘เทพ’
เรื่องราวของเทพเจ้าในหมู่บ้านหนองขาว ที่คนในหมู่บ้านมีความเชื่ออย่างเข้มข้น ทำความรู้จักพิธีกรรมที่เพิ่งกลับมาจัดได้หลังโควิด เมื่อเทพเจ้าลงมาร่ายรำอีกครั้ง
