‘บ้านโอบอุ้ม’ ทางเลือกใหม่ที่พักอาศัยให้คนไทยสูงวัยในชุมชน
ชวนสำรวจทางเลือกที่พักอาศัยของสังคมสูงวัยในไทยและต่างประเทศ พร้อมเสนอทางเลือกในการสร้าง ‘บ้าน’ ให้ผู้สูงอายุเข้าถึงได้อย่างทั่วถึง และใช้ชีวิตบั้นปลายได้อย่างเต็มศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์

ตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ 2565 ถึงวันนี้ 101 PUB ทำงานมาครบหนึ่งปีเต็มแล้ว ทีมงาน 101 PUB จึงชวนเพื่อนร่วมทางในโลกนโยบายสาธารณะ ทั้งนักวิชาการ นักวิจัย ผู้กำหนดนโยบาย นักเคลื่อนไหวทางสังคม และสื่อมวลชน มาร่วมสังสรรค์ ตั้งวงเล่า และแลกเปลี่ยนความคิดเห็น ในงาน 101 PUB Policy Dialogue “Thailand’s Next Chapter: ตีโจทย์นโยบายหลังเลือกตั้ง”
พลันที่โผบัญชีรายชื่อของแต่ละพรรคปรากฎสู่สาธารณะ สิ่งเหล่านี้บอกสถานการณ์ในพรรคอย่างไร การลง ส.ส. ของว่าที่นายกรัฐมนตรียังมีความหมายและสำคัญหรือไม่ ติดตามใน 101 POSTSCRIPT EP.70
101 ชวน ประเมินสถานการณ์และหาแนวทางแก้ไขไปกับ ‘หมอหม่อง’ นพ.รังสฤษฎ์ กาญจนะวณิชย์ นักอนุรักษ์และอาจารย์แพทย์โรคหัวใจ ภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
อาชญาสิทธิ์ ศรีสุวรรณ เขียนถึงแฟง สุขสาร หรือ ‘มหาแฟง’ ชายผู้ไม่ย่อท้อในการลงสมัครรับเลือกตั้งเป็น ส.ส. จนพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวตรัสว่า ถ้าพระองค์ไปเลือกตั้ง จะทรงเลือกเขา
ในวาระครบรอบ 100 ปี นิตยสาร TIME เอกศาสตร์ สรรพช่าง เขียนถึง การออกแบบ ‘ปก’ ด้วยการเลือกรูปที่จับใจ เลือกคำบรรยายที่กระทบใจคนอ่าน และตัดขอบหน้าปกด้วยกรอบแดง จนกลายเป็นเอกลักษณ์ของนิตยสารและ Branding ที่แข็งแกร่งมาตลอดหลายสิบปี ท่ามกลางขาลงของอุตสาหกรรมสิ่งพิมพ์
ชวนสำรวจทางเลือกที่พักอาศัยของสังคมสูงวัยในไทยและต่างประเทศ พร้อมเสนอทางเลือกในการสร้าง ‘บ้าน’ ให้ผู้สูงอายุเข้าถึงได้อย่างทั่วถึง และใช้ชีวิตบั้นปลายได้อย่างเต็มศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์
ผ่านมาเกือบ 20 ปี แต่เหตุการณ์ความรุนแรงตากใบ 2547 ยังเป็นบาดแผลสดในใจของผู้ที่เกี่ยวข้อง และยังเป็นเรื่องที่คนในพื้นที่กลัวที่จะพูดถึงอีกครั้ง การเปิดใจเล่าเรื่องราวและเยียวยาผู้คนจึงเกิดขึ้นผ่านกิจกรรมปะ ชุน ปักผ้า สดับเสียงเงียบตากใบ
เข็มทอง ต้นสกุลรุ่งเรือง เขียนถึงธรรมชาติของการล้อเลียนและเส้นของการล้อเลียนในระบบกฎหมาย โดยเฉพาะเมื่อศาลตีความขยายขอบเขตคำว่าดูหมิ่นในมาตรา 112
‘ขุนพันธ์ 3’ (2023) คือหนังไทยเรื่องแรกของปีที่ทำรายได้ทั่วประเทศทะลุ 100 ล้านบาท ในสภาพที่ถูก ‘เตะตัดขาจนหน้าคะมำ’ ด้วยการโดนโรงหนังเทรอบฉายตั้งแต่ไม่กี่วันหลังเปิดตัว
สนทนากับ ก้องเกียรติ โขมศิริ คนทำหนังผู้ออกมาตั้งคำถามต่อประเด็นนี้อย่างสง่าผ่าเผย พร้อมไล่เรียงปัญหาเรื้อรังในอุตสาหกรรมภาพยนตร์ไทย
ระบบ Recommend จะคัดสรรบทความและสื่อสร้างสรรค์ต่างๆ ที่คุณสนใจ มาให้คุณเลือกในหน้าโปรไฟล์ส่วนตัวของคุณ ให้คุณไม่พลาดทุกเนื้อหาที่คัดมาสำหรับคุณโดยเฉพาะ
คุณสามารถบันทึกบทความแบบ Read Later โดยคลิกที่ปุ่ม Bookmark Icon หรือจะเก็บบทความที่ชื่นชอบเป็นการส่วนตัวไว้ในหมวด Favorite โดยคลิกที่ปุ่ม Favorite Icon เพื่อกลับมาอ่านในภายหลัง
เพียงคุณลงชื่อเข้าใช้ ระบบจะจดจำตัวเลือกฟอนต์และธีมสีที่คุณเคยเลือก ให้คุณอ่านและรับชมทุกเนื้อหาอย่างเต็มที่ สบายตาและเพลิดเพลินใจในแบบที่เหมาะกับคุณ ไม่ว่าจะใช้งานบนคอมพิวเตอร์ แท็บเล็ต หรือสมาร์ตโฟน
หลายคนมองว่าการออกกำลังกายอย่างการวิ่งนั้น เป็นกิจกรรมที่สะดวก ง่ายดายเพราะแทบไม่ต้องใช้อุปกรณ์ รวมทั้งยังเป็นกิจกรรมที่เริ่มต้นที่ไหนก็ได้ แต่เมื่อฝุ่น PM2.5 ปกคลุมไปทั่วทั้งเมืองเช่นนี้ การวิ่งนั้นยังจะเป็นกิจกรรมที่ ‘วิ่งที่ไหนก็ได้’ อยู่อีกไหม หากว่าวิ่งไปแล้วมีโอกาสสูดฝุ่นเข้าปอดมากกว่าปกติ แล้วเราจะอยู่กันอย่างไรต่อในวันที่ฝุ่น PM2.5 ปกคลุมหนาแน่นทั่วทั้งเมืองเช่นนี้
101 Side-seeing วันนี้จะพาไปชม affordable housing บ้านคุณภาพดี ในราคาเข้าถึงได้ ที่เป็นโครงการทาวน์โฮมโดยเอกชนแนวคิด affordable housing คืออะไร ภาพรวมเรื่องที่อยู่อาศัยของคนไทยเป็นอย่างไร โครงการที่ว่านี้มีรูปแบบแตกต่างจากบ้านที่เราคุ้นชินแบบไหน
101 ชวน ก้อง ฤทธิ์ดี นักวิจารณ์หนัง รองผู้อำนวยการหอภาพยนตร์ (องค์การมหาชน) สนทนาถึงรากของปัญหาและทิศทางของวงการหนังไทย ท่ามกลางดราม่า ‘เทโรง-ตัดราคา-ลดรอบ’ ของโรงหนัง
ประวิตร วงษ์สุวรรณ เสนอตนเป็นตัวกลางระหว่างฝ่ายอนุรักษนิยมและเสรีนิยม เพื่อ ‘ก้าวข้ามความขัดแย้ง’ คำถามที่น่าสนใจคือ จะทำยังไง?
101 Gaze ชวนคุณมองอนาคตการอยู่อาศัยของคนเมือง ผ่านตึกระฟ้าในนาม ‘คอนโดฯ’ เมื่อนับเวลาไปอีก 20 ปีข้างหน้า ตึกสูงเหล่านี้จะกลายเป็น ‘ตึกเก่า’ ที่อาจเป็นตัวเลือกที่อยู่อาศัยสุดท้ายในชีวิตของใครหลายคน อะไรที่ทำให้อนาคต ‘คนจะแก่’ ต้องมีชีวิตอยู่บน ‘คอนโดฯ เก่า’
101 คุยกับ ‘ปวิน ชัชวาลพงศ์พันธ์’ ถึงประเด็นการเลือกตั้งปี 2566 หลังผ่านปรากฏการณ์ ‘ทะลุเพดาน’ ว่าจะออกมามีหน้าตาเป็นอย่างไร? จะเป็นความหวังในการเปลี่ยนแปลงการเมืองไทยได้หรือไม่? หรือสุดท้าย สังคมไทยยังคงตกอยู่ในวังวนปัญหาเดิมๆ ต่อไป ถ้าพรรคการเมืองไม่(กล้า)พูดถึงการเปลี่ยนแปลงระดับโครงสร้างอำนาจจริงๆ
ท่ามกลางเพจหนังต่างๆ มากมายและโลกโซเชียลมีเดียกับภาพลักษณ์ที่ว่า ‘ใครก็แสดงความเห็นได้’ 101 สนทนากับ ประวิทย์ แต่งอักษร นักวิจารณ์ภาพยนตร์ที่อยู่กับชีวิตการวิจารณ์มาร่วมสี่ทศวรรษ ว่าแล้วอย่างนั้นนักวิจารณ์จะยังจำเป็นอยู่อีกหรือไม่ ความคับแคบของวงการหนังไทย และดราม่าตั้งแต่การผูกขาดรอบหนังถึงการเซ็นเซอร์ ส่งผลอย่างไรต่อการวิพากษ์วิจารณ์บ้าง
101 PUB สำรวจ 5 ปี บัตรสวัสดิการแห่งรัฐ พบว่าเข้าไม่ถึงคนจนราวครึ่งหนึ่ง แถมรั่วไหลสู่ผู้ไม่เข้าเกณฑ์ งบที่ใช้ไป 2.8 แสนล้านบาทจึงไม่เข้าเป้า
คอลัมน์ ‘ของบ่เล่ารู้ลืม’ เดือนนี้ พริษฐ์ ชิวารักษ์ชวนทำความเข้าใจการเรียกตัวเองของชาวล้านนา ที่ไม่เคยเรียกว่าตัวเองว่า ‘ลาว’ ดังที่ชาวสยามเรียก โดยศึกษาผ่านเอกสารและหนังสือในประวัติศาสตร์
คอลัมน์ Gastro-Politics เดือนนี้ อรุณวตรี รัตนธารี เขียนถึงวิกฤตกาแฟไทยที่มีสาเหตุมาจากหลายอย่าง ทั้งจากสภาพภูมิอากาศและการเก็บภาษีนำเข้าเมล็ดกาแฟในราคาสูง
อิทธิเดช พระเพ็ชร เขียนถึงยุครุ่งเรืองและร่วงโรยของ ‘ตลกคาเฟ่’ หนึ่งในเอกลักษณ์ของเมืองกรุงเทพฯ และเป็นจุดกำเนิดตลกชื่อดังที่ปรากฏบนหน้าจอที่เราคุ้นตา
101 คุยกับ วิจักขณ์ พานิช ผู้อำนวยการสถาบันวัชรสิทธถึงมุมมองที่เขามีต่อศรัทธา การทำงานกับศรัทธาท่ามกลางสถานการณ์ที่บีบบังคับให้มนุษย์หมดศรัทธา รวมถึงคำถามที่หลายคนสงสัยว่าความศรัทธานั้นมีความหมายอย่างไรในการต่อสู้ทางการเมือง
ในห้วงเวลาที่ยูเครนต่อสู้เพื่อมุ่งหน้าสู่อนาคตท่ามกลางความโหดร้ายและความรุนแรง ประวัติศาสตร์แบบไหนกำลังดำเนินอยู่ในยูเครนกันแน่? 101 สนทนากับ Volodymyr Yermolenko ว่าด้วยเรื่องราวระหว่างการครอบงำ-ความรุนแรงและการปลดแอกที่หมุนเวียนกลับมาโลดแล่นอีกครั้งในยูเครน
ในเมื่อโลกยังไม่เห็นแสงสว่างที่ปลายอุโมงค์ 101 สนทนากับ สุรชาติ บำรุงสุข ศาสตราจารย์กิตติคุณ คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ว่าด้วยโจทย์วิกฤตโลกที่เรายังต้องเผชิญต่อไปในอนาคต ทิศทางของระเบียบโลกกลางสงครามเย็นครั้งใหม่ในศตวรรษที่ 21 และที่ทางของการเมืองไทย-การต่างประเทศไทยในกระแสลมแห่งการเลือกตั้ง
101 ชวนย้อนมองระเบียบโลกปี 2022 เมื่อโลกกำลังเข้าสู่การเปลี่ยนผ่านดุลอำนาจไปสู่สองขั้วอำนาจระหว่างจีน-สหรัฐฯ และเต็มไปด้วยความตึงเครียดทางภูมิรัฐศาสตร์ที่ปะทุขึ้นทั้งในสงครามรัสเซีย-ยูเครน ช่องแคบไต้หวัน และอินโด-แปซิฟิก
แม้ Train «Kyiv–War» จะกล่าวถึงสงครามดอนบาสและสังคมยูเครนก่อนวันที่ 24 กุมภา 2022 แต่เรื่องราวในสารคดีก็ยังคงทำปฏิกิริยาและอธิบายสงครามที่กำลังดำเนินอยู่ 101 พูดคุยกับ Korney Gritsyuk ผู้กำกับสารคดีชาวยูเครน ว่าด้วยความคิดและความทรงจำของสังคมยูเครนที่ปรากฏในสารคดี
ระบบ Recommend จะคัดสรรบทความและสื่อสร้างสรรค์ต่างๆ ที่คุณสนใจ มาให้คุณเลือกในหน้าโปรไฟล์ส่วนตัวของคุณ ให้คุณไม่พลาดทุกเนื้อหาที่คัดมาสำหรับคุณโดยเฉพาะ
คุณสามารถบันทึกบทความแบบ Read Later โดยคลิกที่ปุ่ม Bookmark Icon หรือจะเก็บบทความที่ชื่นชอบเป็นการส่วนตัวไว้ในหมวด Favorite โดยคลิกที่ปุ่ม Favorite Icon เพื่อกลับมาอ่านในภายหลัง
เพียงคุณลงชื่อเข้าใช้ ระบบจะจดจำตัวเลือกฟอนต์และธีมสีที่คุณเคยเลือก ให้คุณอ่านและรับชมทุกเนื้อหาอย่างเต็มที่ สบายตาและเพลิดเพลินใจในแบบที่เหมาะกับคุณ ไม่ว่าจะใช้งานบนคอมพิวเตอร์ แท็บเล็ต หรือสมาร์ตโฟน
เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า