How to Train Your Supporters: ไวกิ้งปริศนาแห่งรัฐสภาสหรัฐฯ
ชลิดา หนูหล้า เขียนถึงเบื้องหลัง ‘สัญลักษณ์’ บนร่างกายของกลุ่มผู้บุกรุกอาคารรัฐสภาสหรัฐฯ ที่สนับสนุนโดนัล ทรัมป์ และประวัติศาสตร์สืบสายมาอย่างไร จนนำมาสู่แนวคิด ‘คนขาวเป็นใหญ่’
ชลิดา หนูหล้า เขียนถึงเบื้องหลัง ‘สัญลักษณ์’ บนร่างกายของกลุ่มผู้บุกรุกอาคารรัฐสภาสหรัฐฯ ที่สนับสนุนโดนัล ทรัมป์ และประวัติศาสตร์สืบสายมาอย่างไร จนนำมาสู่แนวคิด ‘คนขาวเป็นใหญ่’
วจนา วรรลยางกูร พูดคุยกับ ณัฎฐา ชื่นวัฒนา ถึงเรื่องโบราณคดีร่วมสมัย อีกแนวทางหนึ่งในการศึกษาโบราณคดีผ่านเรื่องราวของคนตัวเล็กตัวน้อยที่ยึดโยงกับผู้คนในปัจจุบัน
นิติ ภวัครพันธุ์ เล่าเรื่อง ‘คนพม่า’ ว่าด้วยชีวิต สถานะ ทักษะการเรียนรู้และปรับตัวทั้งในมิติอาชีพและวัฒนธรรม ไปจนถึงสถานะของ ‘มหาชัย’ พื้นที่ซึ่งทำให้หลายคนจับจ้องคนพม่า จากข่าวการระบาดของโควิด-19
คอลัมน์ PopCapture พิมพ์ชนก พุกสุข เขียนถึงภาวะ tone-deaf หรือ ภาวะการขาดความเข้าอกเข้าใจว่าผู้อื่นรู้สึกอย่างไร โดยเล่าผ่านความโลกสวยจนมองข้ามรากของปัญหาผ่านชุดโฆษณาเป๊ปซี่ Live for Now
ปิติ ศรีแสงนาม เขียนถึง ‘โจว เอินไหล’ หนึ่งในมหาบุรุษที่ชาวจีนเคารพรักมากที่สุด ในวาระครบรอบ 45 ปีการถึงแก่อสัญกรรม
อติเทพ ไชยสิทธิ์ เล่าถึงบริบททางสังคมและทัศนคติต่อคนหูหนวกในศตวรรษที่ 18 รวมถึงชีวิตของสมภารชาร์ลส์-มิเชล เดอ เลเป ผู้สร้างรากฐานการศึกษาให้แก่คนหูหนวกจากฝรั่งเศสถึงทั่วโลก
วันชัย ตันติวิทยาพิทักษ์ เขียนถึง ม.ร.ว.สายสวัสดี สวัสดิวัตน ในโอกาสครบรอบ 90 ปี บุคคลในราชวงศ์ผู้สนใจความยุติธรรมและสิทธิเสรีภาพของประชาชน
ชลิดา หนูหล้า ชวนตั้งคำถามว่า ความป่าเถื่อนและสภาพแวดล้อมอันบีบคั้นรุนแรง จะสร้าง ‘ชายชาติทหาร’ ได้จริงหรือ
คอลัมน์ ‘สารกันเบื่อ’ เดือนนี้ เอกศาสตร์ สรรพช่าง ชวนถกเถียง ว่าด้วย ‘ความจำเป็น’ และ ‘ความไม่จำเป็น’ ของชุดนักเรียนไทย ผ่านมุมมองการใช้งานของเด็กนักเรียน
นิติ ภวัครพันธุ์ ชวนอ่าน ‘อารมณ์ขัน’ อาวุธที่ทำให้อำนาจกลายเป็นสิ่งที่ถูกท้าทายและหัวเราเยาะ
ยุกติ มุกดาวิจิตร เขียนถึง “มานุษยวิทยาผัสสะ” หรือการศึกษามนุษย์ผ่านผัสสะต่างๆ เช่น การมอง การฟัง การสัมผัส การดม และการรับรส
ตฤณ ไอยะรา เขียนถึงห้วงชีวิตของดีเอโก มาราโดนา สมัยที่เป็นนักฟุตบอลผู้ยิ่งใหญ่ เชื่อมโยงกับประวัติศาสตร์อาร์เจนตินา ชีวิตของมาราโดนาสะท้อนอัตลักษณ์ของชาวอาร์เจนตินาอย่างไรบ้าง