Nan Poesie : เมื่อบทกวีคือการทรยศ (อันงดงาม)
พันธวัฒน์ เศรษฐวิไล เขียนถึง ‘Nan Poesie’ เทศกาลบทกวีแห่งเมืองน่าน ครั้งที่ 1 ที่รวบรวมกวี-คนทำงานศิลปะ ทั้งมืออาชีพและมือสมัครเล่น ควบคู่ไปกับการดึงชุมชนเข้ามามีส่วนร่วม
พันธวัฒน์ เศรษฐวิไล เขียนถึง ‘Nan Poesie’ เทศกาลบทกวีแห่งเมืองน่าน ครั้งที่ 1 ที่รวบรวมกวี-คนทำงานศิลปะ ทั้งมืออาชีพและมือสมัครเล่น ควบคู่ไปกับการดึงชุมชนเข้ามามีส่วนร่วม
พันธวัฒน์ เศรษฐวิไล เขียนถึงความเป็นฮีโร่ของ ‘พี่ตูน’ ที่ปรากฏในสารคดี ‘2,215 เชื่อ บ้า กล้า ก้าว’ พร้อมตั้งคำถามถึงการยกย่องฮีโร่แบบไทยๆ ที่แฝงไว้ด้วยความอันตราย
พันธวัฒน์ เศรษฐวิไล เขียนถึงคีตกวีลูกทุ่ง ไพบูลย์ บุตรขัน ในวาระ 100 ปีชาตกาล เบื้องหลังบทเพลงที่ก้าวพ้นยุคสมัย คือชีวิตที่เคี่ยวกรำความเจ็บปวดอยู่ในหัวใจ
พันธวัฒน์ เศรษฐวิไล เขียนถึง ‘แสงดาว ศรัทธามั่น’ กวีล้านนาผู้ล่วงลับในวัย 73 ปี ผู้เป็นที่รักในหมู่ศิลปิน นักเคลื่อนไหว ตั้งแต่รุ่นปู่ยันรุ่นหลาน
พันธวัฒน์ เศรษฐวิไล เขียนถึงหนังเรื่อง Tonight at romance theater และวาระสุดท้ายของโรงภาพยนตร์ลิโด้
พันธวัฒน์ เศรษฐวิไล เขียนถึงนิยาย ‘ด้วยรักแห่งอุดมการณ์’ และเว็บไซต์ ‘บันทึก 6 ตุลา’ เพื่อเสาะหาร่องรอยหลักฐานของประวัติศาสตร์การสังหารหมู่อันพร่าเลือน
พันธวัฒน์ เศรษฐวิไล เขียนถึงละครเวทีเรื่อง ‘What if?’ ของ นัตตา เผ่าจินดามุข และหนังสือเรื่อง ‘Midnight Harmony’ ของ ลัดดา สงกระสินธ์ ที่มีจุดร่วมเดียวกันคือ การเปิดเปลือยบาดแผลในชีวิตและความสัมพันธ์ ในวันวัยที่ยังไร้เดียงสา
นับแต่ 14 ตุลาคม 2516 เป็นต้นมา คนไทยต้องเผชิญความสูญเสียในเดือนตุลาครั้งแล้วครั้งเล่า เช่นเดียวกับความสูญเสียครั้งใหญ่เมื่อวันที่ 13 ตุลาคม 2559 — ด้วยเหตุนี้ เดือนตุลาจึงเป็นเดือนที่ใครหลายคนไม่อยากจำ แต่ก็ไม่อาจลืม
อาจเพราะความบังเอิญ ที่ทำให้หน้ามรสุม เป็นช่วงเวลาแห่งความสูญเสีย
ตลอดสามปีแห่งการ ‘คืนความสุข’ โดยคสช. คนจำนวนหนึ่งตกเป็นจำเลยด้วยข้อหาเป็นภัยต่อความมั่นคง นี่คือเรื่องเล่าของคนธรรมดาที่ไม่ได้อยู่ในรายการเดินหน้าประเทศไทย ไม่เคยปรากฏในสื่อกระแสหลัก แต่ประจักษ์แจ้งอยู่ในสมองและหัวใจของคนไทยกลุ่มหนึ่ง ซึ่งถูกทำให้เป็นอื่น และบางคนก็ต้องย้ายไปอยู่บนแผ่นดินอื่น—อย่างไม่มีกำหนดกลับ
พันธวัฒน์ เศรษฐวิไล กองบรรณาธิการ 101 เล่าประสบการณ์ชมนิทรรศการ “ต้มยำกุ้งวิทยา : วิชานี้อย่าเลียน” ที่มิวเซียมสยามจัดทำขึ้นในวาระครบรอบ 20 ปี วิกฤตต้มยำกุ้ง – วิกฤตเศรษฐกิจที่รุนแรงที่สุดของสังคมเศรษฐกิจไทยนับจากสงครามโลกครั้งที่ 2 เป็นต้นมา
แฟลชแบ็คกลับไปเมื่อปี 2540 พันธวัฒน์มีอายุได้เพียง 6 ปีเท่านั้น “ต้มยำกุ้งวิทยา” ทำให้เขามองเห็นภาพความทรงจำอะไรในชีวิตของตัวเองและชีวิตของสังคมไทยบ้าง เหมือนหรือต่างกับประสบการณ์ของคุณผู้อ่านอย่างไร อ่านแล้วมาคุยกันครับ!