US
อ่านสหรัฐฯ ในหลากแง่มุม ทั้งเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง
Filter
Sort
ประวัติศาสตร์ของพรรคการเมืองสำคัญอย่างไร (หรืออนาคตของสามลุง)
ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ พาไปสำรวจประวัติศาสตร์ระบบพรรคการเมืองอเมริกัน จนถึงยุคทรัมป์ ผู้ปฏิเสธระเบียบกติกาที่เคยเป็นมา

ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ
2 Feb 2023กบฏรีพับลิกัน: การสร้างความหมายใหม่แก่ประชาธิปไตยในอเมริกา
ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ เล่าเบื้องหลัง ‘มหาภารตะ’ ฉบับอเมริกัน ท่ามกลางความแตกแยกในพรรครีพับลิกันคู่ขนานไปกับความแตกแยกระดับประเทศ ระหว่างฝ่ายเสรีนิยมกับฝ่ายขวาสุดขั้วและเชื้อชาตินิยมผิวขาว

ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ
12 Jan 2023อเมริกันขวา ‘ชังชาติ’ ไหม: การเมืองวัฒนธรรมในอเมริกาเปรียบเทียบ
ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ เปรียบเทียบปัจจัยการใช้ความรุนแรงต่อผู้เห็นต่างทางการเมืองระหว่างไทยและอเมริกา

ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ
1 Dec 2022เลือกตั้งกลางเทอมสหรัฐฯ 2022 – จากการเมืองอเมริกาถึงเศรษฐกิจการเมืองโลก
อะไรคือประเด็นที่น่าสนใจจากการเลือกตั้งกลางเทอมสหรัฐฯ ที่ผ่านมา ดุลอำนาจการเมืองในสหรัฐฯ รวมไปถึงทิศทางการเมืองโลกจะเป็นอย่างไร ชวนหาคำตอบจากสามผู้เชี่ยวชาญที่ติดตามการเมืองอเมริกาอย่างใกล้ชิดผ่านการวิเคราะห์และความเห็นของ ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ, สิริพรรณ นกสวน สวัสดี และ ปกป้อง จันวิทย์

กองบรรณาธิการ
18 Nov 2022‘คลื่นสีแดง’ หายไปไหนในการเลือกตั้งมิดเทอมสหรัฐฯ 2022?
รัชพงษ์ แจ่มจิรไชยกุล วิเคราะห์ การเลือกตั้งกลางเทอมสหรัฐฯ ว่าทำไม ‘คลื่นสีแดง’ จึงไม่เกิดขึ้นตามที่หลายฝ่ายคาดการณ์ และนั่นหมายถึงขาลงของพรรครีพับลิกันจริงหรือไม่?

รัชพงษ์ แจ่มจิรไชยกุล
17 Nov 2022Is America Back? สหรัฐฯ โลก และเอเชียแปซิฟิกหลัง America must lead again – ประพีร์ อภิชาติสกล
101 สนทนากับ ประพีร์ อภิชาติสกล วิเคราะห์บทบาทการนำโลกและการกลับมาปักหมุดในเอเชียของสหรัฐฯ หลังออกจากโหมดโดดเดี่ยว ไปจนถึงความสัมพันธ์ไทย-สหรัฐฯ ในยุคที่ซับซ้อนผันผวนมากที่สุดยุคหนึ่ง

ณรจญา ตัญจพัฒน์กุล
8 Nov 2022‘กบฏ 6 มกรา’ ในอเมริกาและไทย
ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ เปรียบเทียบการยึดอำนาจด้วยกำลังนอกระบบของไทยกับอเมริกาว่ามีลักษณะร่วมและจุดต่างกันอย่างไรบ้าง

ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ
3 Nov 2022ความยุติธรรมนั้นอยู่ที่ไหน จากไทยแลนด์ถึงสหรัฐอเมริกา
จากเหตุการณ์ 6 ตุลาในไทยที่ยังหาผู้รับผิดไม่ได้ ธเนศ อาภรณ์สุวรรณชวนมองไปถึงการเรียกร้องความเป็นธรรมของคนผิวดำในอเมริกา โดยต้องเริ่มต้นจากการทำให้ ‘ประวัติศาสตร์ของผู้ถูกกระทำ’ เป็น ‘ประวัติศาสตร์ชาติ’ และวิพากษ์ประวัติศาสตร์ชาตินิยมดั้งเดิมได้อย่างมีน้ำหนัก

ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ
7 Oct 2022“ไม่มีใครอยู่เหนือกฎหมาย”: ระหว่างกระทรวงยุติธรรมกับโดนัลด์ ทรัมป์ ใครใหญ่กว่ากัน
ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ วิเคราะห์สถานการณ์และชวนจับตาศึกทางกฎหมายจากการพยายามเอาผิดโดนัลด์ ทรัมป์ จากเหตุการณ์บุกคองเกรส อันทำลาย ‘consensus’ ของสังคมอเมริกันที่ดำเนินมายาวนาน

ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ
2 Sep 2022หลายคำถามต่อ Top Gun: หนัง เงิน อเมริกัน ฮีโร
อุกฤษฎ์ ปัทมานันท์ มองภาพยนตร์ Top Gun: Maverick ซึ่งเป็นตัวอย่างสะท้อนการใช้ระบบทุนนิยมดิจิทัลเป็นเครื่องมือขยายแนวคิดและอิทธิพลของสหรัฐฯ

อุกฤษฏ์ ปัทมานันท์
25 Aug 2022กว่าจะเป็น Neocon : ประวัติศาสตร์ย่นย่อของอนุรักษนิยมใหม่ในสหรัฐอเมริกา
ชุติเดช เมธีชุติกุล ชวนอ่านประวัติศาสตร์ฉบับย่นย่อของกลุ่ม ‘Neoconservatism’ หรือ ‘Neocon’ ในสหรัฐอเมริกา ตั้งแต่รุ่นที่หนึ่งจนถึงรุ่นที่สาม

ชุติเดช เมธีชุติกุล
15 Aug 2022ความศักดิ์สิทธิ์ของรัฐธรรมนูญอยู่ที่การทรยศของคนในชนชั้นปกครอง
ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ ทำความเข้าใจการเมืองอเมริกันในยุคหลังโลกาภิวัตน์ผ่านการสอบสวนความจริงในเหตุการณ์บุกสภาคองเกรสเมื่อ 6 ม.ค. 2021

ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ
4 Aug 2022ยกเลิก Roe VS Wade: ‘เถียงกันเรื่องแท้ง’ ในประชาธิปไตยแบบมีตัวแทน+เสรีนิยม
ชลิดาภรณ์ ส่งสัมพันธ์ อธิบายเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นกับสิทธิการทำแท้งในสหรัฐอเมริกาหลังศาลสูงยกเลิกคำวินิจฉัยกรณี Roe VS. Wade และชวนมองปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นต่อมา รวมถึงสิ่งที่ต้องจับตามองต่อไป

ชลิดาภรณ์ ส่งสัมพันธ์
1 Aug 2022เรียนฐานคิดของเสรีนิยม (ไม่ใหม่) จากงานของนักรัฐศาสตร์รัฐธรรมนูญอเมริกัน Vincent Ostrom (1919-2012)
ศุภมิตร ปิติพัฒน์ ชวนอ่านฐานคิดของ ‘เสรีนิยม’ ในการเมืองระหว่างประเทศผ่านงานเขียนของ Vincent Ostrom นักรัฐศาสตร์รัฐธรรมนูญอเมริกันผู้เลื่องชื่อ

ศุภมิตร ปิติพัฒน์
18 Jul 2022ใครควบคุม ‘สิทธิทำแท้ง’ สิทธิในตัวเองของสตรี
ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ วิเคราะห์ที่มาที่ไปก่อนที่ศาลสูงสุดสหรัฐฯ จะคว่ำคำพิพากษาคดีปัญหาการทำแท้งประวัติศาสตร์ (Roe v. Wade) ท่ามกลางการต่อสู้ยาวนานของฝ่าย pro-choice และฝ่าย pro-life และเกมการหาเสียงสนับสนุนทางการเมือง

ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ
1 Jul 2022เก็บตก 4 ประเด็นใหญ่: สหรัฐฯ มองเห็นอะไรจากการประชุมซัมมิตอาเซียน-สหรัฐฯ
101 เก็บตกบทสนทนาโต๊ะกลมระหว่างไมเคิล ฮีธ รักษาการเอกอัครราชทูตสหรัฐฯ ประจำประเทศไทย กับคณะสื่อว่าด้วยเรื่องการปักหมุดความสัมพันธ์ระหว่างสหรัฐฯ-อาเซียนใหม่ในศตวรรษที่ 21
