ชาติพันธุ์ฮันกุก
ชาติพันธุ์ฮันกุก
- ข้างสนาม
- กระจายอำนาจคือคำตอบ
- The Good, the Bad and the Critic
- ถุงนี้ที่เปิดชง
- ยอก-แย้ง-แทง-สวน
- Phenomenon
- Gastro-Politics
- My Voice
- Dancing with Leviathan
- Hard Choices
- Sideway
- ของบ่เล่ารู้ลืม
- Weirdoo
- The Rivalry
- เลียบขั้วโลก
- Curious Economist
- ไทยไม่ใช่กรุงเทพฯ
- PopCapture
- Viva Africa
- CINEMA OF RESISTANCE
- policy praxis
- Nooks & Vulture
- shaped by architecture
- เมืองกลายพันธุ์
- Thought Starter
- under the radar
- Brainbug
- สัมพัทธ์สัมพันธ์
- ถนนสู่ทำเนียบขาว
- Butterfly Effect
- โบราณการครัว
- พิสูจน์-อักษร
- Friendly People
- ม่วนกุ๊บ
- Interview101
- หนังนอกรอบ
- หัวนุ่ม
- Little Read
- Sex Appear
- พูดการเมือง
- ต่อว่า
- มองอเมริกา
- สารกันเบื่อ
- SONGSTRUCK
- โลก-อุษาคเนย์
- เมื่อเวลามาถึง
- AFTERSHOCK
- Léman: Letter from Europe
- หลักประกันสุขภาพที่รัก
- POETIC
- READ-O-SAPIENS
- TREND RIDER
- DEEP FOCUS
- Gen Why
- Agony Uncle
- กับข้าวกับแขก
- QUEER FACTOR
- Dog Ear
- Third Eye View
- 1+1
- วิธีอ่าน
- GLOBAL CHANGE
- 101 Review
Filter
Sort
All of Us Are Dead: ซอมบี้ บูลลี่ และ อุปลักษณ์ของความรุนแรงในโรงเรียน
คอลัมน์ ชาติพันธุ์ฮันกุก จักรกริช สังขมณี เขียนถึงซีรีส์สัญชาติเกาหลีใต้ที่ออกฉายทางเน็ตฟลิกซ์อย่าง All of Us Are Dead เมื่อซอมบี้ไม่เพียงเป็นเรื่องของคนตาย แต่ยังสะท้อนอำนาจนิยมและความรุนแรงในโรงเรียนอีกด้วย
จักรกริช สังขมณี
11 Feb 2022The Silent Sea: Hyperobjects, Hybrid Species และการลงจอดบนโลกอีกครั้ง
สำรวจ The Silent Sea ซีรีส์เกาหลีผ่านปรัชญาและตรรกะทางวิทยาศาสตร์ ต่อประเด็น hyperobjects อันเป็นสิ่งซึ่งดำรงอยู่ในลักษณะข้ามพ้นพื้นที่และเวลา
จักรกริช สังขมณี
23 Jan 2022Minari: เมล็ดพันธุ์เกาหลีใต้ กับการผลิดอกออกใบในอเมริกา
คอลัมน์ชาติพันธ์ฮันกุก จักรกริช สังขมณี เล่าเรื่องการอพยพย้ายถิ่นของชาวเกาหลีและกระบวนการปรับตัวตั้งรกรากสู่ความฝันแบบอเมริกันชน ผ่านภาพยนตร์ มินาริ (Minari; 미나리 2021) ภาพยนตร์ที่เข้าชิงรางวัลออสการ์ถึง 6 สาขาในปีนี้
จักรกริช สังขมณี
29 Mar 2021Start-up: ให้มันเริ่มใหม่ที่รุ่นเรา
#ชาติพันธุ์ฮันกุก ตอนใหม่ จักรกริช สังขมณี เขียนถึงซีรีส์ Start-up สะท้อนชีวิตของคนรุ่นใหม่ในเกาหลีที่แสวงหาแนวทางการประกอบอาชีพและการทำธุรกิจรูปแบบใหม่ และการพยายามหลีกหนีจากค่านิยมการทำงานในระบบเศรษฐกิจแบบเดิมที่อยู่ภายใต้กรอบความสัมพันธ์ของบริษัทขนาดใหญ่ที่เรียกว่า “แชบอล” (재벌)
จักรกริช สังขมณี
11 Nov 2020เมื่อวันนั้นมาถึง: สามัญชนกับกระบวนการประชาธิปไตย
จักรกริช สังขมณี เล่าเรื่องการลุกฮือของประชาชนเกาหลีใต้ในเดือนมิถุนายน ปี 1987 — ขบวนการประชาชนที่ต่อสู้จนได้มาซึ่งสังคมประชาธิปไตย
จักรกริช สังขมณี
25 Jun 202040 ปี การสังหารหมู่ที่ควังจู: ช็อนดูฮวัน ภาพความทรงจำ และความยุติธรรมที่ยังเปลี่ยนไม่ผ่าน
วันที่ 18 พฤษภาคม เป็นวันครอบรอบ 40 ปี ของเหตุการณ์สังหารหมู่ผู้ชุมนุมฝ่ายประชาธิปไตยที่เมืองควังจู ประเทศเกาหลีใต้ จักรกริช สังขมณี ชวนย้อนดูประวัติศาสตร์การเมืองนี้ผ่านภาพยนตร์ 12 เรื่อง ที่สะท้อนความทรงจำและประสบการณ์จากหลากมุมมอง
จักรกริช สังขมณี
18 May 2020Itaewon Class: ห้องเรียนว่าด้วยความแปลกแยก อิสรภาพ และความพันทาง
ตามรอยพัคแซรอย จากซีรีส์ Itaewon Class ไปสำรวจ “อิแทวอน” ย่านที่เคยเป็นทั้งที่ตั้งฐานทัพของทหารสหรัฐฯ ย่านซื้อขายบริการทางเพศ สถานที่พบปะสังสรรค์ของ LGBT และย่านของชาวมุสลิม
จักรกริช สังขมณี ชวนย้อนทำความเข้าใจประวัติศาสตร์อิแทวอน ทั้งในเชิงภูมิศาสตร์ เศรษฐกิจการเมือง และสังคมวัฒนธรรม
จักรกริช สังขมณี
14 Apr 2020วรรณกรรมเกาหลี: ช่องว่างระหว่างมีและซอล เราได้ยินอะไร? (2)
จักรกริช สังขมณี เขียนถึง หนังสือ “มี ในเมษายน ซอล ในกรกฎาคม” ที่สะท้อนประเด็น ความทุกข์ทรมานจากวิกฤตการณ์ทางเศรษฐกิจ ,ความทรงจำทางการเมืองและขบวนการเคลื่อนไหวของประชาชนเกาหลี, การสร้างความรู้สึกชาตินิยม และพหุวัฒนธรรมในประเทศเกาหลี
จักรกริช สังขมณี
2 Mar 2020Crash Landing on You: ตาม “สหายผู้กอง” ไปซื้อของที่ “จังมาดัง”
คอลัมน์ #ชาติพันธุ์ฮันกุก ตอนใหม่ จักรกริช สังขมณี เขียนถึง Crash Landing on You ซีรีส์ชื่อดัง กับภาพสังคมเกาหลีเหนือ ผ่าน ‘จังมาดัง’ พื้นที่สีเทาทางเศรษฐกิจ สถานที่ที่สหายผู้กองพยายามไปเสาะแสวงหาข้าวของเครื่องใช้มาให้ให้กับ ยุนเซรี
จักรกริช สังขมณี
13 Feb 2020วรรณกรรมเกาหลี: ช่องว่างระหว่างมีและซอล เราได้ยินอะไร? (1)
จักรกริช สังขมณี เขียนถึง “มี ในเมษายน ซอล ในกรกฎาคม” หนังสือรวมเรื่องสั้น ที่จะสะท้อนการเปลี่ยนแปลงสำคัญในหน้าประวัติศาสตร์เกาหลีใต้ร่วมสมัย ในตอนแรกว่ากันด้วยสามเรื่องสั้นที่จะพาสำรวจประเด็น การศึกษา ความหลากหลายทางเพศ และการเปลี่ยนแปลงของเมืองผ่านร้านสะดวกซื้อ
จักรกริช สังขมณี
23 Jan 2020ใครคือคิมจียอง?
จักรกริช สังขมณี เขียนถึงความเป็น ‘คิมจียอง’ ในสังคม ผ่านการไล่เรียงประวัติศาสตร์ของเกาหลี จนทำให้เกิดสังคมที่บีบคั้นให้ทุกคนต้องทำหน้าที่ตามเพศสถานะของตน ซึ่งไม่ได้เกิดเฉพาะกับผู้หญิงเท่านั้น