สุรพงษ์ ชัยนาม กับ Hans J. Morgenthau
ศุภมิตร ปิติพัฒน์ ชวนสำรวจแนวคิดแบบสภาพจริงนิยมที่วิพากษ์ว่าอุดมการณ์เป็น ‘พิษร้าย’ ต่อความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ผ่านงานวิจัยของสุรพงษ์ ชัยนาม และแนวคิดของฮานส์ มอร์เกนธาว
ศุภมิตร ปิติพัฒน์ ชวนสำรวจแนวคิดแบบสภาพจริงนิยมที่วิพากษ์ว่าอุดมการณ์เป็น ‘พิษร้าย’ ต่อความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ผ่านงานวิจัยของสุรพงษ์ ชัยนาม และแนวคิดของฮานส์ มอร์เกนธาว
ศุภมิตร ปิติพัฒน์ เล่าถึงประสบการณ์จากกลุ่มอ่านหนังสือที่เพื่อนสมาชิกคาดหวังให้เขาแสดงความเห็นในฐานะอนุรักษนิยมไทย และยืนยันว่าการกลับไปอ่านงานของอนุรักษนิยมไทยคือหนทางเดียวในการทำความรู้จักพวกเขา
ศุภมิตร ปิติพัฒน์ ชวนอ่านการใช้ภาษาในการต่างประเทศ ซึ่งเป็นเครื่องมือสำคัญในการกำหนดบรรยากาศและตรรกะวิธีคิดในเจรจาทางการทูต การกำหนดนโยบายต่างประเทศ และยุทธศาสตร์ความมั่นคง
ศุภมิตร ปิติพัฒน์เขียนถึงกรณีการปลดชื่อประธานาธิบดี ‘วูดโรว์ วิลสัน’ ออกจาก ‘Woodrow Wilson School of Public and International Affairs’ เพื่อตั้งคำถามว่า เราควรกลับไปแก้ ‘ประวัติศาสตร์สีดำ’ ให้ถูกต้องกับคุณค่าปัจจุบัน หรือ เปิดรับสิ่งเลวร้ายที่เกิดขึ้นไว้เป็นความทรงจำร่วมกันของสังคม
ศุภมิตร ปิติพัฒน์ ชวนอ่านแนววิเคราะห์ รัฐและทุนนิยมไทยในงานของ ไกรศักดิ์ ชุณหะวัณ อีกครั้ง ทั้งในฐานะ ‘ปฏิบัติการทางปัญญา’ แห่งยุคสมัย และในฐานะบทวิเคราะห์เศรษฐกิจการเมืองไทย ซึ่งพลิกผันปั่นป่วนอย่างต่อเนื่องนับตั้งแต่หลายทศวรรษก่อนจนถึงปัจจุบัน
ศุภมิตร ปิติพัฒน์ เขียนถึงทฤษฎีรัฐวิเคราะห์ในทฤษฎีการเมืองระหว่างประเทศ จากข้อจำกัดของทฤษฎีแบบดั้งเดิม ไปจนถึงแว่นตาของนักวิชาการปัญญาชนฝ่ายซ้ายที่เผยให้เห็นถึงความซับซ้อนที่ซ่อนอยู่ภายใต้อำนาจรัฐและกลไกอำนาจรัฐ
ศุภมิตร ปิติพัฒน์ เสนอวิธี ‘อ่านย้อนรอย’ จากงาน Common Sense ของ โธมัส เพน เพื่อชวนคิดถึงพลวัตและกระบวนการทางประวัติศาสตร์ของ ‘ฝ่ายก้าวหน้า’ และปัญหาการเปลี่ยนผ่านสู่ระบอบใหม่
ชวนอ่านความคิดและคำถามของ ศุภมิตร ปิติพัฒน์ ว่าด้วยการเขียนประวัติศาสตร์การเมืองของการเปลี่ยนแปลงการปกครอง 2475 อีกแบบหนึ่ง – แบบ irony
ศุภมิตร ปิติพัฒน์ เปิดรายงานวิจัยตอนที่ 6 ว่าด้วยเอกสารพระราชหัตถเลขาสละราชสมบัติของรัชกาลที่ 7 และการประสานความไม่ลงรอยในรัฐธรรมนูญ 2489
ศุภมิตร ปิติพัฒน์ เปิดรายงานวิจัยตอนที่ 5 ว่าด้วยคณะราษฎรกับการจำกัดอำนาจกษัตริย์ไว้ใต้รัฐธรรมนูญ
ศุภมิตร ปิติพัฒน์ เปิดรายงานวิจัยตอนที่ 4 เรื่องข้อเสนอของฟรานซิส บี แซร์และแนวคิดต้นแบบของรัฐธรรมนูญฝ่ายอนุรักษนิยม
ศุภมิตร ปิติพัฒน์ เปิดรายงานวิจัยตอนที่ 3 ว่าด้วยปัญหาการบริหารงานที่เป็นโจทย์การจัดการปฏิรูปหรือเปลี่ยนแปลงการปกครอง