fbpx

Lifestyle

25 Dec 2020

ผัสสะแห่งเทศกาล ควันไฟ​ การเชือดหมูก่อนคริสต์มาสในโรมาเนีย

ณัฎฐา ชื่นวัฒนา พาไปรู้จักกับ Tăiatul Porcului หรือ การเชือดหมู ประเพณีสำคัญช่วงก่อนวันคริสต์มาสของชาวโรมาเนีย สัมผัสกับเมนูของชาวโรมาเนียท่ามกลางอากาศหนาวและกลิ่นควันไฟจากเตาถ่าน

ณัฎฐา ชื่นวัฒนา

25 Dec 2020

World

23 Dec 2020

กรณีคำสั่งฆ่ามิงค์ 17 ล้านตัวในเดนมาร์กกับบทเรียนเรื่องสิ่งแวดล้อม

ปรีดี หงษ์สต้น เขียนถึง บทเรียนสิ่งแวดล้อมผ่านสถานการณ์การกลายพันธุ์ของเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ในฟาร์มมิงค์ของเดนมาร์ก จนเป็นที่มาของคำสั่งฆ่ามิงค์ 17 ล้านตัวเพื่อป้องกันการแพร่ระบาด

ปรีดี หงษ์สต้น

23 Dec 2020

Books

22 Dec 2020

ผลพวงแห่งความคับแค้น The Grapes of Wrath

‘นรา’ ชวนอ่าน The Grapes of Wrath ‘ผลพวงแห่งความคับแค้น’ โดยจอห์น สไตน์เบ็ค ที่ตีแผ่ปัญหาในสังคมช่วงเศรษฐกิจตกต่ำครั้งใหญ่เมื่อทศวรรษ 1930 ความโหดร้ายของชีวิต และความดีงามในจิตใจมนุษย์

นรา

22 Dec 2020

policy praxis

21 Dec 2020

ความแฟร์ในสังคมอยู่ตรงไหน

ฉัตร คำแสง เขียนถึงวิธีการมอง ‘ความแฟร์’ ตามแนวทางของ John Rawls เพื่อชวนคิดว่านโยบายสาธารณะที่ดีต่อสังคมโดยรวมควรมีหน้าตาเป็นแบบใด

ฉัตร คำแสง

21 Dec 2020

Life & Culture

17 Dec 2020

Design Thinking กับชุดนักเรียนไทย : ใส่หรือไม่ใส่ดี

คอลัมน์ ‘สารกันเบื่อ’ เดือนนี้ เอกศาสตร์ สรรพช่าง ชวนถกเถียง ว่าด้วย ‘ความจำเป็น’ และ ‘ความไม่จำเป็น’ ของชุดนักเรียนไทย ผ่านมุมมองการใช้งานของเด็กนักเรียน

เอกศาสตร์ สรรพช่าง

17 Dec 2020

Education

15 Dec 2020

School Town King โลกที่บังคับให้เด็กฝันเป็นคนธรรมดา

วจนา วรรลยางกูร เขียนถึง ภาพยนตร์สารคดี ‘School Town King : แร็ปทะลุฝ้า ราชาไม่หยุดฝัน’ ที่เล่าเรื่องชีวิตเด็กคลองเตยผู้ใฝ่ฝันอยากเป็นแร็ปเปอร์ชื่อดัง

วจนา วรรลยางกูร

15 Dec 2020

Thai Politics

14 Dec 2020

ครั้งแรกในรอบ 7 ปี – จับตาการเลือกตั้ง อบจ. 20 ธันวาคม 2563

คอลัมน์ ‘ไทยไม่ใช่กรุงเทพฯ’ ตอนที่ 2 ณัฐกร วิทิตานนท์ ชวนจับตาการเลือกตั้ง อบจ. 20 ธันวาคม 2563 มีประเด็นอะไรที่น่าจับตามอง และเพราะอะไรการเลือกตั้งท้องถิ่นจึงสำคัญ

ณัฐกร วิทิตานนท์

14 Dec 2020

Thai Politics

8 Dec 2020

ย้อนรอยสองทศวรรษ อบจ. เปลี่ยนการเมืองไทยอย่างไร

คอลัมน์ ‘ไทยไม่ใช่กรุงเทพฯ’ ตอนแรก ณัฐกร วิทิตานนท์ พาย้อนไปรู้จักการเกิดขึ้นของ อบจ. ตลอด 20 ปีที่ผ่านมา ซึ่งสอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงของการเมืองไทยอย่างแนบแน่น

ณัฐกร วิทิตานนท์

8 Dec 2020

US

4 Dec 2020

วิกฤตการเมืองในสองนคราประชาธิปไตย : สหรัฐฯ กับไทย

ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ ชวนจับตาการเมืองสหรัฐหลังทรัมป์แพ้เลือกตั้ง พร้อมชวนคิดมองการเมืองอเมริกาแล้วเห็นอะไรในการเมืองไทย

ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ

4 Dec 2020

Film & Music

1 Dec 2020

ไม่ลืม Goodbye, Dragon Inn

‘นรา’ เขียนถึงภาพยนตร์สัญชาติไต้หวัน Goodbye, Dragon Inn ของไฉ้หมิงเลี่ยง ที่เล่าถึงความเสื่อมโทรมของโรงหนังและการฉายหนังด้วยความเรียบง่าย แต่ให้อารมณ์และบรรยากาศหม่นเศร้าบาดลึกตรึงใจ

นรา

1 Dec 2020

Lifestyle

25 Nov 2020

แพข้าวป่าแห่งทะเลสาบนกพิราบ: เมื่ออาหารคือการต่อต้าน และ ทะเลสาบในอุดมคติ

ณัฎฐา ชื่นวัฒนา พาไปดู ‘ข้าวป่า’ อาหารศักดิ์สิทธิ์ของชนพื้นเมืองในแคนาดาที่เป็น ‘วัชพืช’ ในสายตาผู้มาใหม่ และเมื่อเกิดข้อขัดแย้งเกี่ยวกับการจัดการทรัพยากรธรรมชาติในชุมชน ข้าวป่าก็กลายเป็นเครื่องมือต่อสู้เพื่อรักษาอำนาจและวัฒนธรรมของคนพื้นเมืองไว้

ณัฎฐา ชื่นวัฒนา

25 Nov 2020

World

24 Nov 2020

กูไม่ใช่หญ้าในรองเท้ามึง!: สุภาษิตจากเลียบขั้วโลก

ปรีดี หงษ์สต้น เขียนถึงการควบรวมดินแดนภูมิศาสตร์ซัปมี (Sápmi) ของสวีเดน กับการปกครองชนพื้นเมืองโดยมีคริสต์ศาสนาเป็นเครื่องมือ การควบรวมดังกล่าวเป็นเหตุให้ชนพื้นเมืองแสดงการต่อต้าน และบางครั้ง การต่อต้านก็ปรากฏผ่านสุภาษิตที่ผู้คนใช้ในชีวิตประจำวัน

ปรีดี หงษ์สต้น

24 Nov 2020

Books

23 Nov 2020

ในเมืองที่ถูกพระเจ้าทอดทิ้ง Snow(Kar)

‘นรา’ เขียนถึง “หิมะ” (Snow) นวนิยายของออร์ฮาน ปามุก นักเขียนโนเบลสาขาวรรณกรรม ที่เล่าความขัดแย้งเรื่องการเมืองและความเชื่อทางศาสนาในสังคมตุรกีผ่านเมืองสมมติเล็กๆ ที่หิมะตกหนักตลอดปี

นรา

23 Nov 2020

Economy

22 Nov 2020

ประเทศไทยในกับดักเทคโนโลยีปานกลาง : เมื่อนรกเป็นของเราและสวรรค์เป็นของคนอื่น

แบ๊งค์ งามอรุณโชติ วิเคราะห์สาเหตุสำคัญที่ไทยยังคงติดกับดัก ‘รายได้ปานกลาง’ และ ‘เทคโนโลยีปานกลาง’ ซึ่งไม่ได้เกิดจากแค่การจัดทำนโยบายที่ผิดพลาด หรือวิกฤตเศรษฐกิจเพียงชั่วครั้งชั่วคราวเท่านั้น

แบ๊งค์ งามอรุณโชติ

22 Nov 2020
1 31 32 33 85

MOST READ

Phenomenon

2 May 2024

พ่อแม่แบบไหนเสียใจที่มีลูก

คอลัมน์ ‘Phenomenon’ สัปดาห์นี้ โตมร ศุขปรีชา พาคิดเรื่อง ‘ความเสียใจที่มีลูก’ ชวนมองย้อนไปถึงแรงกดดันจากสังคมซึ่งสัมพันธ์กับค่านิยมเรื่องสถาบันครอบครัว

โตมร ศุขปรีชา

2 May 2024

Phenomenon

11 Apr 2024

จาก ‘หลานม่า’ ถึงปรากฏการณ์ผู้สูงวัยใน TikTok : caregiver และการออกแบบ ‘วาระสุดท้าย’ ในทางสังคม

คอลัมน์ ‘Phenomenon’ สัปดาห์นี้ โตมร ศุขปรีชา พาสำรวจปรากฏการณ์ ‘หลานม่า’ และผู้สูงวัยใน Tik Tok สะท้อนเรื่องการดูแลผู้สูงอายุซึ่งถูกผลักให้เป็นเพียงเรื่องของปัจเจกและความกตัญญู จุดประเด็นให้มีการจัดการทางสังคมแบบใหม่เพื่อออกแบบ ‘วาระสุดท้าย’ ให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงสู่สังคมผู้สูงอายุ

โตมร ศุขปรีชา

11 Apr 2024

My Voice

10 Apr 2024

ระบอบทักษิณ-ระบอบประยุทธ์ จุดเริ่มต้นแตกต่าง ปลายทางเดียวกัน

ประทีป คงสิบ ชวนมองเปรียบเทียบ ‘ระบอบทักษิณ’ กับ ‘ระบอบประยุทธ์’ จากจุดเริ่มต้นที่แตกต่าง แต่ปลายทางกลับมีจุดหมายเดียวกัน

ประทีป คงสิบ

10 Apr 2024

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save