fbpx

City

14 Jan 2021

ออกแบบเมืองด้วยกลิ่น: ผัสสะที่ถูกมองข้ามนานนับพันปี

คอลัมน์ TREND RIDER สัปดาห์นี้ โตมร ศุขปรีชา ชวนสำรวจ ‘Smellscape’ หรือกลิ่นที่ลอยอยู่ในเมืองจากการออกแบบและวางผังเมือง

โตมร ศุขปรีชา

14 Jan 2021

policy praxis

13 Jan 2021

โรคสมองกับกล้ามเนื้อไม่สัมพันธ์กันในภาครัฐ

ฉัตร คำแสง สำรวจกายวิภาคของรัฐไทย เพื่อไขปัญหาการทำงานไม่สอดประสานกันคล้ายกับเป็นโรคสมองกับกล้ามเนื้อไม่สัมพันธ์กัน (Dyspraxia)

ฉัตร คำแสง

13 Jan 2021

Curious Economist

13 Jan 2021

รู้จักทฤษฎีการประมูล: ออกแบบตลาดฉบับนักเศรษฐศาสตร์รางวัลโนเบล

รพีพัฒน์ อิงคสิทธิ์ เขียนถึงทฤษฎีการประมูลของพอล อาร์. มิลกรอม และโรเบิร์ต บี. วิลสัน สองนักเศรษฐศาสตร์รางวัลโนเบลคนล่าสุด เพื่อทำความเข้าใจว่า การประมูลมีบทบาทในการจัดสรรทรัพยากรให้กระจายสู่สาธารณะได้อย่างไร

รพีพัฒน์ อิงคสิทธิ์

13 Jan 2021

Life & Culture

13 Jan 2021

Tone Deaf โลกสวยตาใสในสังคมเจ็บจริง

คอลัมน์ PopCapture พิมพ์ชนก พุกสุข เขียนถึงภาวะ tone-deaf หรือ ภาวะการขาดความเข้าอกเข้าใจว่าผู้อื่นรู้สึกอย่างไร โดยเล่าผ่านความโลกสวยจนมองข้ามรากของปัญหาผ่านชุดโฆษณาเป๊ปซี่ Live for Now

พิมพ์ชนก พุกสุข

13 Jan 2021

shaped by architecture

11 Jan 2021

รัฐสภาไทยที่ไม่มีประชาชน

คอลัมน์ Shaped by Architecture เดือนนี้ รชพร ชูช่วย เขียนถึงแนวคิดการออกแบบสัปปายะสภาสถาน และตั้งคำถามกับพื้นที่เพื่อประกอบ ‘ความดี’ แห่งนี้ ว่าใช้ได้จริงแค่ไหนในระบอบประชาธิปไตย

รชพร ชูช่วย

11 Jan 2021

Thai Politics

30 Dec 2020

การเลือกตั้ง อบจ.’63 บอกอะไรเรา

หลังจากการเลือกตั้ง อบจ. 2563 ผ่านพ้นไป ณัฐกร วิทิตานนท์ พาไปสำรวจสิ่งที่การเลือกตั้งและผลการเลือกตั้งครั้งนี้สะท้อนให้เราเห็น ในคอลัมน์ ‘ไทยไม่ใช่กรุงเทพฯ’

ณัฐกร วิทิตานนท์

30 Dec 2020

Life & Culture

28 Dec 2020

โซเชียลเน็ตเวิร์ก : เชื่อมต่อคนห่างไกลหรือมหันตภัยแห่งยุค

คอลัมน์ TREND RIDER สัปดาห์นี้ โตมร ศุขปรีชา เขียนถึง คำถามแห่งยุคสมัย ว่าโซเชียลเน็ตเวิร์กนำไปสู่การแบ่งปัน-เปิด-เชื่อมต่อหรือการกีดกัน-ปกปิด-แบ่งแยกระหว่างมนุษย์ในสังคมกันแน่?

โตมร ศุขปรีชา

28 Dec 2020

Lifestyle

25 Dec 2020

ผัสสะแห่งเทศกาล ควันไฟ​ การเชือดหมูก่อนคริสต์มาสในโรมาเนีย

ณัฎฐา ชื่นวัฒนา พาไปรู้จักกับ Tăiatul Porcului หรือ การเชือดหมู ประเพณีสำคัญช่วงก่อนวันคริสต์มาสของชาวโรมาเนีย สัมผัสกับเมนูของชาวโรมาเนียท่ามกลางอากาศหนาวและกลิ่นควันไฟจากเตาถ่าน

ณัฎฐา ชื่นวัฒนา

25 Dec 2020

Europe

23 Dec 2020

กรณีคำสั่งฆ่ามิงค์ 17 ล้านตัวในเดนมาร์กกับบทเรียนเรื่องสิ่งแวดล้อม

ปรีดี หงษ์สต้น เขียนถึง บทเรียนสิ่งแวดล้อมผ่านสถานการณ์การกลายพันธุ์ของเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ในฟาร์มมิงค์ของเดนมาร์ก จนเป็นที่มาของคำสั่งฆ่ามิงค์ 17 ล้านตัวเพื่อป้องกันการแพร่ระบาด

ปรีดี หงษ์สต้น

23 Dec 2020

Books

22 Dec 2020

ผลพวงแห่งความคับแค้น The Grapes of Wrath

‘นรา’ ชวนอ่าน The Grapes of Wrath ‘ผลพวงแห่งความคับแค้น’ โดยจอห์น สไตน์เบ็ค ที่ตีแผ่ปัญหาในสังคมช่วงเศรษฐกิจตกต่ำครั้งใหญ่เมื่อทศวรรษ 1930 ความโหดร้ายของชีวิต และความดีงามในจิตใจมนุษย์

นรา

22 Dec 2020

policy praxis

21 Dec 2020

ความแฟร์ในสังคมอยู่ตรงไหน

ฉัตร คำแสง เขียนถึงวิธีการมอง ‘ความแฟร์’ ตามแนวทางของ John Rawls เพื่อชวนคิดว่านโยบายสาธารณะที่ดีต่อสังคมโดยรวมควรมีหน้าตาเป็นแบบใด

ฉัตร คำแสง

21 Dec 2020

Life & Culture

17 Dec 2020

Design Thinking กับชุดนักเรียนไทย : ใส่หรือไม่ใส่ดี

คอลัมน์ ‘สารกันเบื่อ’ เดือนนี้ เอกศาสตร์ สรรพช่าง ชวนถกเถียง ว่าด้วย ‘ความจำเป็น’ และ ‘ความไม่จำเป็น’ ของชุดนักเรียนไทย ผ่านมุมมองการใช้งานของเด็กนักเรียน

เอกศาสตร์ สรรพช่าง

17 Dec 2020

Education

15 Dec 2020

School Town King โลกที่บังคับให้เด็กฝันเป็นคนธรรมดา

วจนา วรรลยางกูร เขียนถึง ภาพยนตร์สารคดี ‘School Town King : แร็ปทะลุฝ้า ราชาไม่หยุดฝัน’ ที่เล่าเรื่องชีวิตเด็กคลองเตยผู้ใฝ่ฝันอยากเป็นแร็ปเปอร์ชื่อดัง

วจนา วรรลยางกูร

15 Dec 2020
1 30 31 32 85

MOST READ

Phenomenon

11 Apr 2024

จาก ‘หลานม่า’ ถึงปรากฏการณ์ผู้สูงวัยใน TikTok : caregiver และการออกแบบ ‘วาระสุดท้าย’ ในทางสังคม

คอลัมน์ ‘Phenomenon’ สัปดาห์นี้ โตมร ศุขปรีชา พาสำรวจปรากฏการณ์ ‘หลานม่า’ และผู้สูงวัยใน Tik Tok สะท้อนเรื่องการดูแลผู้สูงอายุซึ่งถูกผลักให้เป็นเพียงเรื่องของปัจเจกและความกตัญญู จุดประเด็นให้มีการจัดการทางสังคมแบบใหม่เพื่อออกแบบ ‘วาระสุดท้าย’ ให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงสู่สังคมผู้สูงอายุ

โตมร ศุขปรีชา

11 Apr 2024

My Voice

10 Apr 2024

ระบอบทักษิณ-ระบอบประยุทธ์ จุดเริ่มต้นแตกต่าง ปลายทางเดียวกัน

ประทีป คงสิบ ชวนมองเปรียบเทียบ ‘ระบอบทักษิณ’ กับ ‘ระบอบประยุทธ์’ จากจุดเริ่มต้นที่แตกต่าง แต่ปลายทางกลับมีจุดหมายเดียวกัน

ประทีป คงสิบ

10 Apr 2024

US

5 Apr 2024

ภาวะ ‘เขาควาย’ (dilemma) ของโจ ไบเดน: ความอับจนของมหาอำนาจต่อหน้าการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์

ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ วิเคราะห์การเผชิญหน้าของสหรัฐฯ ต่อสองวิกฤตการเมืองโลกคือ รัสเซีย-ยูเครน และ ฮามาส-อิสราเอล ภายใต้การนำของโจ ไบเดน ที่ตอบสนองต่อสองเรื่องนี้ในทิศทางตรงกันข้าม

ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ

5 Apr 2024

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save