fbpx

Social Movement

17 Sep 2020

ประท้วงอย่างไรให้เผ็ดและสร้างสรรค์? : Disobedient Objects สิ่งประดิษฐ์เพื่อการประท้วงจากทั่วโลก

โล่หนังสือ, จักรยาน DIY, ก้อนหินเป่าลม ฯลฯ Eyedropper Fill พาไปรู้จักสิ่งประดิษฐ์สร้างสรรค์เพื่อการประท้วงทางการเมือง

อายดรอปเปอร์ ฟิลล์

17 Sep 2020

policy praxis

16 Sep 2020

ปัญหาทั่วไทย แต่ตรวจอย่างไรก็ไม่เจอ

ฉัตร คำแสง ชวนไขปริศนาทำไมระบบการตรวจสอบปัญหาของภาครัฐจึงไม่เคยพบเจอความผิดปกติใดเลย แม้ระบบการตรวจสอบจะดูดีและตั้งใจตรวจแค่ไหนก็ตาม

ฉัตร คำแสง

16 Sep 2020

Books

16 Sep 2020

หญิงปากกล้าและเรื่องต้องห้าม The Blind Assassin

‘นรา’ หยิบยก The Blind Assassin อีกหนึ่งผลงานชิ้นเยี่ยมจากปลายปากกามาร์กาเร็ต แอตวูด ผู้เขียน The Handmaid’s Tale ที่กล่าวถึงสิทธิเด็กและสตรี การกดขี่ และประเด็นทางสังคมอีกมากมาย

นรา

16 Sep 2020

Lifestyle

14 Sep 2020

Agony Uncle* Hema ลุงเฮม่าตอบปัญหา: นักปลดแอกโดนรุมกินโต๊ะและวัฒนธรรม-วัฒนเท

ลุงเฮม่าตอบปัญหา ว่าด้วยสถานการณ์ที่เด็กและผู้ใหญ่เห็นต่างกันกลางโต๊ะอาหาร และวัฒนธรรมที่คนรวมใจกัน ‘เท’ เพื่อต่อต้าน

ภาณุ บุรุษรัตนพันธุ์

14 Sep 2020

Books

13 Sep 2020

ทำไมยืมหนังสือแล้วถึงไม่คืน? ปัญหาว่าด้วยวัฒนธรรมและความเคารพ

คอลัมน์ TREND RIDER สัปดาห์นี้ โตมร ศุขปรีชา ตั้งคำถามต่อวัฒนธรรมการหยิบยืมหนังสือ ว่าเหตุใดเมื่อเป็น ‘หนังสือ’ ผู้ยืมจึงมักคืนหนังสือด้วยสภาพบุบสลาย หรือแม้กระทั่งหายไปพร้อมกับหนังสือราวกับว่าไม่เคยยืมมาก่อน

โตมร ศุขปรีชา

13 Sep 2020

Global Affairs

11 Sep 2020

อ่านภาษาการต่างประเทศ

ศุภมิตร ปิติพัฒน์ ชวนอ่านการใช้ภาษาในการต่างประเทศ ซึ่งเป็นเครื่องมือสำคัญในการกำหนดบรรยากาศและตรรกะวิธีคิดในเจรจาทางการทูต การกำหนดนโยบายต่างประเทศ และยุทธศาสตร์ความมั่นคง

ศุภมิตร ปิติพัฒน์

11 Sep 2020

US

9 Sep 2020

“กมลา แฮร์ริส” กับอนาคตการเมืองสหรัฐฯ : ความหลากหลายของคนอเมริกัน v ความเป็นหนึ่งของคนผิวขาว

ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ วิเคราะห์การเมืองอเมริกาก่อนหน้าการเลือกตั้งใหญ่ การเลือก “กามาลา แฮร์ริส” เป็นผู้ชิงตำแหน่งรองประธานาธิบดีมีความหมายอย่างไร

ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ

9 Sep 2020

Film & Music

6 Sep 2020

บันไดสวรรค์? The Housemaid

‘นรา’ เล่าถึง The Housemaid ภาพยนตร์แนวเมโลดรามาปี 1960 ของคิมคียอง ที่ได้รับการยกย่องว่าเป็นหนึ่งในสามหนังเกาหลีที่ดีที่สุดเท่าที่เคยมีการสร้างกันมา

นรา

6 Sep 2020

Lifestyle

3 Sep 2020

บาร์บีคิวอเมริกัน: ความหมายที่แปรเปลี่ยนและการเมืองเรื่องสีผิวของเนื้อรมควัน

ณัฎฐา ชื่นวัฒนา เล่าเรื่อง บาร์บีคิว กับประวัติศาสตร์ที่เปลี่ยนแปลงความหมายของอาหารจากนี้ไป จากอาหารของทาสผิวดำ อาหารที่ใช้หาเสียงเลือกตั้ง อาหารต้านคอมมิวนิสต์ ไปจนถึงอาหารที่ทวงคืนประวัติศาสตร์การต่อสู้ของคนผิวดำ

ณัฎฐา ชื่นวัฒนา

3 Sep 2020

Human & Society

31 Aug 2020

กษัตริย์-คนนอก-การดูถูก: ราคาที่ราชาต้องจ่าย

คอลัมน์ สารกันเบื่อ เดือนนี้ เอกศาสตร์ สรรพช่าง เขียนถึงความปกติสามัญของการดูถูกและการกีดกัน ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของสังคมมนุษย์ทุกยุคสมัยและทุกชนชั้น

เอกศาสตร์ สรรพช่าง

31 Aug 2020

City

28 Aug 2020

เมืองเหลื่อมรู้

คอลัมน์ #เมืองกลายพันธุ์ เดือนนี้ อภิวัฒน์ รัตนวราหะ เขียนถึง เมืองแห่งความเหลื่อมล้ำทางการเรียนรู้ พิจารณาถึงผังเมืองและโครงสร้างพื้นฐานที่ผลิตซ้ำความเหลื่อมล้ำในการเข้าถึงความรู้ ต้นทุนทางสังคม และความแปลกแยกระหว่างกลุ่มคนในสังคม

อภิวัฒน์ รัตนวราหะ

28 Aug 2020

World

27 Aug 2020

หฤหรรษ์รวันดา: จากการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์สู่มหัศจรรย์ทางเศรษฐกิจ (1)

ลลิตา หาญวงษ์ เขียนถึงที่มาของความขัดแย้งระหว่างชาวฮูตูและชาวทุตซีในประเทศรวันดา จนกลายมาเป็นเหตุการณ์ฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ที่ติดตรึงในความทรงจำของทั้งผู้นำและประชาชนทุกเหล่าในรวันดา

ลลิตา หาญวงษ์

27 Aug 2020

Thai Politics

27 Aug 2020

ลามะลิลาเชิงวิพากษ์

อิสระ ชูศรี เขียนถึงเพลงลามะลิลาที่คุ้นหูสังคมไทยดี แต่เมื่อเยาวชนปลดแอกนำมาแปลงเนื้อเพลงเพื่อใช้ในการประท้วง กลับให้ความหมายทรงพลัง

อิสระ ชูศรี

27 Aug 2020

Life & Culture

25 Aug 2020

ที่อยู่ที่ ‘อาศัย’ ไม่ได้

คอลัมน์ Shaped by Architecture เดือนนี้ รชพร ชูช่วย ชวนมองปรากฏการณ์ ‘คอนโด’ ที่สะท้อนปัญหาใต้ภูเขาน้ำแข็งของธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ และปัญหาการพัฒนาเมือง

รชพร ชูช่วย

25 Aug 2020
1 34 35 36 85

MOST READ

Phenomenon

2 May 2024

พ่อแม่แบบไหนเสียใจที่มีลูก

คอลัมน์ ‘Phenomenon’ สัปดาห์นี้ โตมร ศุขปรีชา พาคิดเรื่อง ‘ความเสียใจที่มีลูก’ ชวนมองย้อนไปถึงแรงกดดันจากสังคมซึ่งสัมพันธ์กับค่านิยมเรื่องสถาบันครอบครัว

โตมร ศุขปรีชา

2 May 2024

Phenomenon

11 Apr 2024

จาก ‘หลานม่า’ ถึงปรากฏการณ์ผู้สูงวัยใน TikTok : caregiver และการออกแบบ ‘วาระสุดท้าย’ ในทางสังคม

คอลัมน์ ‘Phenomenon’ สัปดาห์นี้ โตมร ศุขปรีชา พาสำรวจปรากฏการณ์ ‘หลานม่า’ และผู้สูงวัยใน Tik Tok สะท้อนเรื่องการดูแลผู้สูงอายุซึ่งถูกผลักให้เป็นเพียงเรื่องของปัจเจกและความกตัญญู จุดประเด็นให้มีการจัดการทางสังคมแบบใหม่เพื่อออกแบบ ‘วาระสุดท้าย’ ให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงสู่สังคมผู้สูงอายุ

โตมร ศุขปรีชา

11 Apr 2024

My Voice

10 Apr 2024

ระบอบทักษิณ-ระบอบประยุทธ์ จุดเริ่มต้นแตกต่าง ปลายทางเดียวกัน

ประทีป คงสิบ ชวนมองเปรียบเทียบ ‘ระบอบทักษิณ’ กับ ‘ระบอบประยุทธ์’ จากจุดเริ่มต้นที่แตกต่าง แต่ปลายทางกลับมีจุดหมายเดียวกัน

ประทีป คงสิบ

10 Apr 2024

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save