fbpx

Brainbug

23 Jul 2020

Blindsight การมองเห็นโดยไม่ต้องรับรู้ว่ามองเห็น : เปิดเส้นทางประสาทลับเก่าแก่ในสมอง

คอลัมน์ Brainbug เดือนนี้ ชัยภัทร ชุณหรัศมิ์ เขียนถึง Blindsight – การมองเห็นโดยเจ้าตัวไม่รับรู้ว่ามองเห็น ซึ่งเกิดจากการทำงานของเส้นประสาทลึกลับเก่าแก่ในสมอง

ชัยภัทร ชุณหรัศมิ์

23 Jul 2020

ต่อว่า

23 Jul 2020

เมื่อคาถา “ศิลปินมีไว้ชื่นชม ไม่ได้มีไว้รู้จัก” อาจไม่ศักดิ์สิทธิ์เสมอไป

จากแนวคิด “ศิลปินมีไว้ชื่นชม ไม่ได้มีไว้รู้จัก” คันฉัตร รังษีกาญจน์ส่อง ชวนเราทบทวนสถานการณ์ที่ศิลปินทำให้แฟนคลับผิดหวัง พร้อมคำถามสำคัญ ‘เราจะยังสนับสนุนเขาต่อไปหรือเปล่า’ เมื่อบางครั้ง ผลงานและตัวศิลปินเองอาจไม่สามารถแยกออกจากกันได้

คันฉัตร รังษีกาญจน์ส่อง

23 Jul 2020

Lifestyle

21 Jul 2020

หากโลกนี้ไม่มีเก้าอี้

คอลัมน์ สารกันเบื่อ เดือนนี้ เอกศาสตร์ สรรพช่าง ตั้งคำถามถึงการมีอยู่ของเก้าอี้ ที่ ‘ดูเหมือน’ จะเป็นวัตถุที่เราขาดในชีวิตไม่ได้

เอกศาสตร์ สรรพช่าง

21 Jul 2020

Life & Culture

21 Jul 2020

เพราะสถาปัตยกรรมคือภาระและภาษี

คอลัมน์ Shaped by Architecture เดือนนี้ รชพร ชูช่วย เขียนถึงต้นทุนการดูแลรักษาอาคารขนาดใหญ่ของรัฐ ที่เชื่อมโยงกับค่าใช้จ่ายของลูกหลานในอนาคต

รชพร ชูช่วย

21 Jul 2020

พิสูจน์-อักษร

16 Jul 2020

หนึ่งร้อยปีแห่งความโดดเดี่ยว One Hundred Years of Solitude

‘นรา’ เขียนถึง ‘หนึ่งร้อยปีแห่งความโดดเดี่ยว’ นวนิยายแนวสัจนิยมมหัศจรรย์อันลือลั่นโดยกาเบรียล การ์เซีย มาร์เกซ ซึ่งครบครันทั้งความสนุก แง่มุมด้านการเมือง สังคม ประวัติศาสตร์ และคุณค่าทางวรรณกรรม

นรา

16 Jul 2020

policy praxis

14 Jul 2020

ออกแบบนโยบายอย่างฉลาด เพื่อแก้จุดตายของการทำนโยบายไทย

ฉัตร คำแสง เขียนถึง ‘จุดตาย’ ของกระบวนการกำหนดนโยบายไทย ซึ่งเป็นเหตุผลหลักทำให้นโยบายใดๆ ของไทยไร้ประสิทธิภาพ พร้อมทั้งเสนอโมเดลใหม่ของการออกแบบและขับเคลื่อนนโยบายอย่างชาญฉลาด

ฉัตร คำแสง

14 Jul 2020

Thai Politics

10 Jul 2020

วูดโรว์ วิลสันกับความโหดร้ายของประวัติศาสตร์

ศุภมิตร ปิติพัฒน์เขียนถึงกรณีการปลดชื่อประธานาธิบดี ‘วูดโรว์ วิลสัน’ ออกจาก ‘Woodrow Wilson School of Public and International Affairs’ เพื่อตั้งคำถามว่า เราควรกลับไปแก้ ‘ประวัติศาสตร์สีดำ’ ให้ถูกต้องกับคุณค่าปัจจุบัน หรือ เปิดรับสิ่งเลวร้ายที่เกิดขึ้นไว้เป็นความทรงจำร่วมกันของสังคม

ศุภมิตร ปิติพัฒน์

10 Jul 2020

โบราณการครัว

9 Jul 2020

แวววับ จับใจ ไร้ลิ้น: การเมือง โบราณคดีชาตินิยมอลังการ กับมื้ออาหารที่หายไป (1)

ณัฎฐา ชื่นวัฒนา เขียนถึงการศึกษาโบราณคดีในสมัยก่อนที่มักจะเน้นคุณค่าความงามทางศิลปกรรม ส่งเสริมแนวความคิดชาตินิยมเพื่อสร้างอัตลักษณ์ของชาติ และไม่มีเรื่องราวเกี่ยวกับชีวิตมนุษย์สามัญธรรมดา

ณัฎฐา ชื่นวัฒนา

9 Jul 2020

Books

3 Jul 2020

Bloomsday เทศกาลที่ฉลองให้กับวรรณกรรม Ulysses และตัวละคร

สุนันทา วรรณสินธ์ เบล เขียนถึงวรรณกรรมชิ้นเอกอย่าง Ulysses ของ James Joyce ที่เล่าเรื่องของ ‘มิสเตอร์บลูม’ ภาพชีวิต และบรรยากาศของนครดับลินในวันที่ 16 มิถุนายน 1904 จนทำให้วันที่ 16 มิถุนายนของทุกปี กลายเป็นวันเฉลิมฉลองให้กับวรรณกรรมอมตะชิ้นนี้

สุนันทา วรรณสินธ์ เบล

3 Jul 2020

US

3 Jul 2020

Black Lives Matter – การปฏิวัติอเมริกาครั้งที่ 3 ?

ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ ชวนคิดเรื่องการให้ความหมายใหม่ของ “การปฏิวัติ” ในโลกยุคพ้นสมัยใหม่ ขบวนการ Black Lives Matter จะกลายเป็นการปฏิวัติอเมริกาครั้งที่ 3 ได้หรือไม่

ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ

3 Jul 2020

Film & Music

2 Jul 2020

สวรรค์หาย A Hidden Life

‘นรา’ เขียนถึง A Hidden Life หนึ่งในผลงานเรื่องล่าสุดของเทอร์เรนซ์ มาลิค ผู้กำกับที่ขึ้นชื่อเรื่องการร้อยเรียงเรื่องราว และนำเสนองานภาพอย่างประณีตพิถีพิถัน

นรา

2 Jul 2020

TREND RIDER

1 Jul 2020

Cancel Cancer: ทำอย่างไรมะเร็งร้ายจึงจะหายไป

คอลัมน์ Trend Rider สัปดาห์นี้ โตมร ศุขปรีชา เขียนถึง ประวัติศาสตร์และพัฒนาการของวิทยาการทางการแพทย์ในการรักษามะเร็ง จากยุคโบราณจนถึงปัจจุบัน

โตมร ศุขปรีชา

1 Jul 2020
1 36 37 38 85

MOST READ

Phenomenon

11 Apr 2024

จาก ‘หลานม่า’ ถึงปรากฏการณ์ผู้สูงวัยใน TikTok : caregiver และการออกแบบ ‘วาระสุดท้าย’ ในทางสังคม

คอลัมน์ ‘Phenomenon’ สัปดาห์นี้ โตมร ศุขปรีชา พาสำรวจปรากฏการณ์ ‘หลานม่า’ และผู้สูงวัยใน Tik Tok สะท้อนเรื่องการดูแลผู้สูงอายุซึ่งถูกผลักให้เป็นเพียงเรื่องของปัจเจกและความกตัญญู จุดประเด็นให้มีการจัดการทางสังคมแบบใหม่เพื่อออกแบบ ‘วาระสุดท้าย’ ให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงสู่สังคมผู้สูงอายุ

โตมร ศุขปรีชา

11 Apr 2024

My Voice

10 Apr 2024

ระบอบทักษิณ-ระบอบประยุทธ์ จุดเริ่มต้นแตกต่าง ปลายทางเดียวกัน

ประทีป คงสิบ ชวนมองเปรียบเทียบ ‘ระบอบทักษิณ’ กับ ‘ระบอบประยุทธ์’ จากจุดเริ่มต้นที่แตกต่าง แต่ปลายทางกลับมีจุดหมายเดียวกัน

ประทีป คงสิบ

10 Apr 2024

Phenomenon

25 Apr 2024

เดินเร็ว – แก่ช้า : เมื่อการเดินทำให้มนุษย์แตกต่างจากสัตว์

คอลัมน์ ‘Phenomenon’ สัปดาห์นี้ โตมร ศุขปรีชา พาสำรวจ ‘วัฒนธรรมการเดิน’ อันเปรียบเสมือนของขวัญที่ทำให้มนุษย์แตกต่างจากสัตว์

โตมร ศุขปรีชา

25 Apr 2024

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save