จดหมายถึง สรวงมณฑ์ สิทธิสมาน
วรพจน์ พันธุ์พงศ์ เขียนจดหมายถึงสรวงมณฑ์ สิทธิสมาน เมื่ออ่านบทความเรื่อง ‘ครอบครัวสะบั้นเพราะการเมือง!’ ที่สรวงมณฑ์เขียน วรพจน์โต้แย้งและตั้งคำถามในหลายประเด็น
วรพจน์ พันธุ์พงศ์ เขียนจดหมายถึงสรวงมณฑ์ สิทธิสมาน เมื่ออ่านบทความเรื่อง ‘ครอบครัวสะบั้นเพราะการเมือง!’ ที่สรวงมณฑ์เขียน วรพจน์โต้แย้งและตั้งคำถามในหลายประเด็น
วรพจน์ พันธุ์พงศ์ เขียนถึงงานสัมภาษณ์ที่อาจยังไม่ต้องกดเครื่องอัดเสียง ไม่ใช้กระดาษ ปากกา แต่เริ่มจากเดินทางไปศึกษา สบตาผู้คน โดยเฉพาะในม็อบนักศึกษา
วรพจน์ พันธุ์พงศ์ ชวนสำรวจทัศนะของคนทำงานสื่อสารมวลชนที่ถูกแวดล้อมด้วยโลกทัศน์แบบ “มองโลกในแง่ดี” และ “มองโลกในแง่ร้าย”
วรพจน์ พันธ์ุพงศ์ เล่าถึง “ความตาย” ผ่านประสบการณ์ของนักเขียนชั้นครูผู้ทิ้งความหมายอันประเมินค่ามิได้ไว้ก่อนตาย
วรพจน์ พันธุ์พงศ์ เล่าถึงสาระสำคัญของความพยายามเปิดพื้นที่ทางความคิด การอ่าน การเขียน เสวนาสังสรรค์ ในห้วงยามที่บ้านเมืองถูกลดทอนพื้นที่ไปทุกตารางนิ้ว
วรพจน์ พันธุ์พงศ์ เล่าถึงการทำงานสื่อในสถานการณ์ฉุกเฉิน ทั้งเผชิญกับเงื่อนไขรายล้อม ทั้งภาระและพันธะ แล้วอะไรทำให้ต้องตัดสินใจเลือก…
เมื่อไวรัสบังคับให้เว้นระยะห่าง วรพจน์ พันธุ์พงศ์ จึงบอกเล่าแง่งามของ ‘ระยะ’ ในคืนวันที่ทำงานกับเพื่อนช่างภาพ ก่อนจะเรียนรู้การทำงานคนเดียว
วรพจน์ พันธุ์พงศ์ เขียนเล่าถึงเทศกาลบทกวี ‘น่านโปเอซี’ ที่เกิดขึ้นบนพื้นที่เล็กๆ ในตัวเมืองจังหวัดน่าน พร้อมเชื่อมโยงว่าสัมพันธ์กับ ‘นักสัมภาษณ์’ อย่างไร
วรพจน์ พันธุ์พงศ์ เขียนถึงภาวะการทำงานสัมภาษณ์ในยุคสมัยที่ยังไม่มีใครเรียกอาชีพ “นักสัมภาษณ์” กระทั่งผ่านคืนวันมาจนตกผลึกว่า “เหงื่อ งาน และการลงแรง” คือคำตอบ
คอลัมน์ #interview101 วรพจน์ พันธุ์พงศ์ เขียนถึงการถอดเทป กิจกรรมที่สื่อมวลชนคุ้นชิน เบื่อหน่าย ทว่ามองข้ามไม่ได้
วรพจน์ พันธุ์พงศ์ ถอดบทเรียน 40 ข้อจากประสบการณ์การทำงานสัมภาษณ์ ตั้งแต่เรื่องพื้นฐานอย่างการรักษาเวลา ไปจนถึงฉากฝังใจอย่างการเผลอหลับต่อหน้าแหล่งข่าว
วรพจน์ พันธุ์พงศ์ เขียนถึงปัญหาคลาสสิกที่นักสัมภาษณ์ทุกคนต้องเจอ คือ ‘คำถามแรก จะถามอะไร’ พร้อมยกกรณีตัวอย่างจากการสัมภาษณ์ตัวละครหลากหลาย