fbpx

Life & Culture

16 Apr 2024

สมมติฐานว่าด้วยหนงจื้อเกากับประวัติศาสตร์ล้านนา (1)

พริษฐ์ ชิวารักษ์ เล่าชีวประวัติของ ‘หนงจื้อเกา’ วีรบุรุษในตำนานชาวไท ที่นักศึกษาไทคดีและล้านนาคดีบางส่วนเชื่อว่ามีความสัมพันธ์กับประวัติศาสตร์ล้านนา

พริษฐ์ ชิวารักษ์

16 Apr 2024

Phenomenon

11 Apr 2024

จาก ‘หลานม่า’ ถึงปรากฏการณ์ผู้สูงวัยใน TikTok : caregiver และการออกแบบ ‘วาระสุดท้าย’ ในทางสังคม

คอลัมน์ ‘Phenomenon’ สัปดาห์นี้ โตมร ศุขปรีชา พาสำรวจปรากฏการณ์ ‘หลานม่า’ และผู้สูงวัยใน Tik Tok สะท้อนเรื่องการดูแลผู้สูงอายุซึ่งถูกผลักให้เป็นเพียงเรื่องของปัจเจกและความกตัญญู จุดประเด็นให้มีการจัดการทางสังคมแบบใหม่เพื่อออกแบบ ‘วาระสุดท้าย’ ให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงสู่สังคมผู้สูงอายุ

โตมร ศุขปรีชา

11 Apr 2024

My Voice

10 Apr 2024

ระบอบทักษิณ-ระบอบประยุทธ์ จุดเริ่มต้นแตกต่าง ปลายทางเดียวกัน

ประทีป คงสิบ ชวนมองเปรียบเทียบ ‘ระบอบทักษิณ’ กับ ‘ระบอบประยุทธ์’ จากจุดเริ่มต้นที่แตกต่าง แต่ปลายทางกลับมีจุดหมายเดียวกัน

ประทีป คงสิบ

10 Apr 2024

US

5 Apr 2024

ภาวะ ‘เขาควาย’ (dilemma) ของโจ ไบเดน: ความอับจนของมหาอำนาจต่อหน้าการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์

ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ วิเคราะห์การเผชิญหน้าของสหรัฐฯ ต่อสองวิกฤตการเมืองโลกคือ รัสเซีย-ยูเครน และ ฮามาส-อิสราเอล ภายใต้การนำของโจ ไบเดน ที่ตอบสนองต่อสองเรื่องนี้ในทิศทางตรงกันข้าม

ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ

5 Apr 2024

Phenomenon

5 Apr 2024

ค่าจ้างขั้นต่ำกับคุณภาพความเป็นคน

คอลัมน์ ‘Phenomenon’ สัปดาห์นี้ โตมร ศุขปรีชา ชวนคิดเรื่องการปรับขึ้น ‘ค่าจ้างขั้นต่ำ’ ที่ไม่ใช่แค่ประเด็นระดับจุลภาค แต่เกี่ยวโยงอย่างไรถึงโครงสร้างสังคมวัฒนธรรมไทย และเพราะอะไรการปรับขึ้นค่าจ้างขั้นต่ำจะทั้งช่วยสร้างกลไกการแข่งขันที่เป็นธรรมและส่งเสริม ‘เสรีนิยม’ ทางเศรษฐกิจอย่างที่ควรจะเป็น

โตมร ศุขปรีชา

5 Apr 2024

Life & Culture

4 Apr 2024

ปัญหาการผูกขาดปัญญาประดิษฐ์ ที่จะมาลิขิตชีวิตเรา

เอกศาสตร์ สรรพช่าง เขียนถึงปัญหาของการพัฒนาปัญญาประดิษฐ์ ที่ถูกผูกขาดโดยบริษัทเทคฯ ของสองชาติมหาอำนาจต่างขั่ว – สหรัฐและจีน

เอกศาสตร์ สรรพช่าง

4 Apr 2024

ไทยไม่ใช่กรุงเทพฯ

31 Mar 2024

ฝาท่อที่ญี่ปุ่นบอกอะไรกับเรา

ณัฐกร วิทิตานนท์ เขียนถึงการออกแบบฝาท่อที่ประเทศญี่ปุ่นเพื่อสะท้อนเกี่ยวกับการกระจายอำนาจและการปกครองท้องถิ่น

ณัฐกร วิทิตานนท์

31 Mar 2024

Phenomenon

29 Mar 2024

อย่าทำให้เสรีภาพเป็นปีศาจ : ว่าด้วยเสรีภาพเชิงบวกและเชิงลบ

คอลัมน์ ‘Phenomenon’ สัปดาห์นี้ โตมร ศุขปรีชา ชวนคิดเรื่องความหมายของเสรีภาพเชิงบวกและเชิงลบ ตลอดจนความสำคัญของเสรีภาพในฐานะเสาหลักของการสร้างสังคมประชาธิปไตย

โตมร ศุขปรีชา

29 Mar 2024

Human & Society

28 Mar 2024

Bacha Coffee Toiteca Chocolate 3009 กับความกลัวต่อกาแฟในอาณาจักรออตโตมัน

เอกศาสตร์ สรรพช่าง ชวนดื่ม Bacha Coffee Toiteca Chocolate 3009 แกล้มเรื่องเล่าจากยุคอาณาจักรออตโตมัน ว่าครั้งหนึ่ง กาแฟเคยสั่นสะเทือนชนชั้นนำจนต้องออกมาปราบปรามร้านกาแฟ (?!)

เอกศาสตร์ สรรพช่าง

28 Mar 2024

World

27 Mar 2024

ทำไมเราถึงสนใจชีวิตของคนในราชวงศ์ (อังกฤษ) กันนักนะ

คอลัมน์ Popcapture เดือนนี้ชวนสำรวจความสนใจที่ผู้คนมีต่อราชวงศ์อังกฤษ อะไรที่ทำให้ราชวงศ์วินด์เซอร์เป็นที่สนใจของผู้คนกลุ่มใหญ่มากมายถึงเพียงนี้

พิมพ์ชนก พุกสุข

27 Mar 2024

Life & Culture

26 Mar 2024

ฆ่าความไร้เดียงสา To Kill a Mockingbird (ผู้บริสุทธิ์)

‘นรา’ เขียนถึงนิยาย To Kill a Mockingbird หรือ ‘ผู้บริสุทธิ์’ ผลงานชิ้นเยี่ยมของฮาร์เปอร์ ลี ที่ได้รางวัลพูลิตเซอร์และดัดแปลงเป็นภาพยนตร์ได้อย่างซาบซึ้งตรึงใจ

นรา

26 Mar 2024

Life & Culture

25 Mar 2024

เซ็นเซอร์ต้องตาย ภาพยนตร์ไทยต้องรอด เสรีภาพคนดูหนังจงเจริญ

ในวาระที่ศาลปกครองสูงสุดยกเลิกคำสั่งห้ามฉาย ‘เชคสเปียร์ต้องตาย’ (2011) ประวิทย์ แต่งอักษร จึงชวนสำรวจประวัติศาสตร์ของการ ‘เซ็นเซอร์’ ในอุตสาหกรรมภาพยนตร์ไทย และบาดแผลที่มันได้ทอดทิ้งไว้ให้คนทำหนังรุ่นแล้วรุ่นเล่า ไล่เรื่อยมาจนถึงคนดูอย่างเราๆ ด้วย

ประวิทย์ แต่งอักษร

25 Mar 2024

กระจายอำนาจคือคำตอบ

25 Mar 2024

เราควรทำได้

นายแพทย์ประเสริฐ ผลิตผลการพิมพ์ เล่าประสบการณ์ในโรงพยาบาลเอกชนในฐานะผู้ป่วย และชวนคิดถึงข้อแตกต่างที่เกิดในโรงพยาบาลรัฐ เมื่อผู้บริหารมีอำนาจตัดสินใจที่ไม่เท่ากัน

ประเสริฐ ผลิตผลการพิมพ์

25 Mar 2024

Phenomenon

22 Mar 2024

ปรัชญาภาษี : จาก ‘ภาษีคือการปล้น’ สู่ ‘เครื่องมือลดความเหลื่อมล้ำ’

คอลัมน์ ‘Phenomenon’ สัปดาห์นี้ โตมร ศุขปรีชา พาตั้งคำถามถึงหน้าที่ของภาษี ที่เปลี่ยนผ่านจากการขูดรีดประชาชน สู่การเป็นเครื่องมือลดความเหลื่อมล้ำ

โตมร ศุขปรีชา

22 Mar 2024

My Voice

18 Mar 2024

ตรวจแนวรบสงครามปราบ ‘ผีก้าวไกล’ ศึกแรกปีกอนุรักษ์ฯ กำชัยค้านสายตา

ประทีป คงสิบ ชวนตรวจสถานการณ์แนวรบเพื่อไทย-ก้าวไกล เปรียบเป็นคู่ชกที่ต่อยไม่ครบยก แล้วกรรมการให้ยุติการแข่งขันอย่างค้านสายตา

ประทีป คงสิบ

18 Mar 2024
1 2 85

MOST READ

Phenomenon

11 Apr 2024

จาก ‘หลานม่า’ ถึงปรากฏการณ์ผู้สูงวัยใน TikTok : caregiver และการออกแบบ ‘วาระสุดท้าย’ ในทางสังคม

คอลัมน์ ‘Phenomenon’ สัปดาห์นี้ โตมร ศุขปรีชา พาสำรวจปรากฏการณ์ ‘หลานม่า’ และผู้สูงวัยใน Tik Tok สะท้อนเรื่องการดูแลผู้สูงอายุซึ่งถูกผลักให้เป็นเพียงเรื่องของปัจเจกและความกตัญญู จุดประเด็นให้มีการจัดการทางสังคมแบบใหม่เพื่อออกแบบ ‘วาระสุดท้าย’ ให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงสู่สังคมผู้สูงอายุ

โตมร ศุขปรีชา

11 Apr 2024

Phenomenon

22 Mar 2024

ปรัชญาภาษี : จาก ‘ภาษีคือการปล้น’ สู่ ‘เครื่องมือลดความเหลื่อมล้ำ’

คอลัมน์ ‘Phenomenon’ สัปดาห์นี้ โตมร ศุขปรีชา พาตั้งคำถามถึงหน้าที่ของภาษี ที่เปลี่ยนผ่านจากการขูดรีดประชาชน สู่การเป็นเครื่องมือลดความเหลื่อมล้ำ

โตมร ศุขปรีชา

22 Mar 2024

My Voice

10 Apr 2024

ระบอบทักษิณ-ระบอบประยุทธ์ จุดเริ่มต้นแตกต่าง ปลายทางเดียวกัน

ประทีป คงสิบ ชวนมองเปรียบเทียบ ‘ระบอบทักษิณ’ กับ ‘ระบอบประยุทธ์’ จากจุดเริ่มต้นที่แตกต่าง แต่ปลายทางกลับมีจุดหมายเดียวกัน

ประทีป คงสิบ

10 Apr 2024

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save