fbpx

Life & Culture

31 Oct 2022

เมื่อคนแต่งตัวเป็น เจฟฟรีย์ ดาห์เมอร์ รับฮัลโลวีน: เส้นแบ่งบางๆ ระหว่างการเล่าถึงความอำมหิตกับการยกย่องอาชญากร

หลังซีรีส์ว่าด้วยฆาตกรต่อเนื่อง Monster: The Jeffrey Dahmer Story (2022) ประสบความสำเร็จสุดขีด จนมีคนอยากแต่งตัวเป็น เจฟฟรีย์ ดาห์เมอร์ รับฮัลโลวีน (จนเว็บไซต์อีเบย์ต้องแบนไม่ขายเสื้อผ้าบางส่วนที่เหมือนดาห์เมอร์ใส่) ปรากฏการณ์นี้มันคืออะไร ทำไมคนถึงได้อยากแต่งตัวแบบฆาตกรต่อเนื่องกันล่ะ

พิมพ์ชนก พุกสุข

31 Oct 2022

PopCapture

2 Oct 2022

เมื่ออนาคตยังมืดมิด ก็จง ‘ปล่อยจอยชีวิต’ กันเถิดหนา คติธรรมประจำหัวใจวัยรุ่นจีน

กระแส bai lan หรือ let it rot กำลังถูกพูดถึงอย่างมากในจีน เมื่อกลุ่มคนหนุ่มสาวต่างพากันมักน้อย ไม่ทะเยอทะยาน กลายเป็นภาพรวมที่สะท้อนปัญหาเศรษฐกิจทั้งระบบของจีนเอง

พิมพ์ชนก พุกสุข

2 Oct 2022

Life & Culture

31 Aug 2022

การออกวิ่ง และความโดดเดี่ยวอันแสนสุข

คอลัมน์ Popcapture เดือนนี้ว่าด้วยเรื่อง ‘การวิ่ง’ กีฬาสามัญประจำชีวิตของหลายๆ คน ที่บางห้วงบางยามก็เป็นมากกว่าการออกกำลังกาย แต่ยังหมายถึงห้วงเวลาอันโดดเดี่ยวและแสนสงบ

พิมพ์ชนก พุกสุข

31 Aug 2022

World

28 Jul 2022

เทรเวอร์ เรนโบล์ต ชายผู้รู้จักทุกซอกของโลกผ่าน Google Maps โดยไม่เคยเดินทางออกนอกประเทศสักครั้ง

คอลัมน์ Popcapture พาไปรู้จักกับนาย เทรเวอร์ เรนโบล์ต ผู้เล่นเกม GeoGuessr ที่ทายสถานที่จากการสังเกตภาพผ่านกูเกิล แม็ป ที่เพียงแค่ฝั่งพวงมาลัยของคนขับ, เสาโทรศัพท์, ตำแหน่งดวงอาทิตย์ส่อง ก็เพียงพอสำหรับการระบุพิกัดให้เรนโบล์ตได้แล้ว! อย่างไรก็ตาม นี่ก็ชวนให้ตั้งคำถามต่อความเป็นส่วนตัวของเราที่ปรากฎลงบนอินเตอร์เน็ตในทุกรูปแบบ ว่ามันยังปลอดภัยมากแค่ไหนหากว่าใครก็ตามสามารถคาดเดาที่อยู่ของเราได้ง่ายดายเช่นนี้

พิมพ์ชนก พุกสุข

28 Jul 2022

PopCapture

29 Jun 2022

20 ปีแห่งความอัปยศ ไบรอน มูเรโน ผู้ตัดสินจอมฉาวในแมตช์เกาหลีใต้-อิตาลี 2002

คอลัมน์ PopCapture ชวนย้อนกลับไปยัง 20 ปีก่อนในการแข่งขันฟุตบอลโลกปี 2002 กับนัดเตะสุดจะอื้อฉาวระหว่างเกาหลีใต้กับอิตาลี กับกรรมการ ไบรอน มูเรโน ที่ชีวิตกระโจนขึ้นลงตั้งแต่เป็นผู้ตัดสินที่ชาวอิตาลีหมายหัว, นักการเมือง ไปจนถึงคนส่งยา

พิมพ์ชนก พุกสุข

29 Jun 2022

PopCapture

26 May 2022

‘วัฒนธรรมความ(ซึม)เศร้า’ เมื่อความเศร้าเป็นสิ่งฉาบฉวย เก๋ไก๋และขายได้

คอลัมน์ PopCapture ตั้งข้อสังเกตถึงกระแสการแบ่งปันประสบการณ์เลวร้ายที่แพร่กระจายอยู่ในโลกออนไลน์ แม้ด้านหนึ่งมันจะช่วยเยียวยาผู้เล่า แต่ในอีกด้านก็กลายเป็นหลุมพรางขนาดย่อม ที่อาจพาใครต่อใครไปยังเขตแดนของ ‘ความป่วยไข้ทางใจ’ โดยไม่ได้เจตนา ทั้งมันยังแปรสภาพกลายเป็นสินค้าแฟชั่นอันชวนฉงนของโลกทุนนิยมด้วย

พิมพ์ชนก พุกสุข

26 May 2022

PopCapture

21 Apr 2022

เมื่อนักวิทยาศาสตร์ประท้วง: จาก WALL-E ถึง Don’t Look Up หรือเรากำลังจะเข้าใกล้ดิสโทเปีย (ถ้าไม่ได้เป็นอยู่ก่อนแล้วน่ะนะ)

ภาพนักวิทยาศาสตร์รวมตัวกันประท้วงเพื่อเรียกร้องให้รัฐบาลอังกฤษหันมาใส่ใจวิกฤตสภาพอากาศ ชวนให้นึกถึงฉากจากหนังดิสโทเปียหลายๆ เรื่อง อย่าง WALL-E กับ Don’t Look Up หนังที่ว่าด้วยโลกที่เละเทะเพราะอากาศเปลี่ยนแปลง และอีกเรื่องพูดถึงรัฐบาลผู้ไม่ใยดีคำเตือนจากนักวิทยาศาสตร์

พิมพ์ชนก พุกสุข

21 Apr 2022

PopCapture

30 Mar 2022

ไม่มีรัสเซียในอุตสาหกรรมหนัง เกม และฟุตบอล เมื่อโลกพร้อมใจกันหันหลังให้รัสเซีย

ภายใต้บริบทสงครามระหว่างรัสเซีย-ยูเครน ที่ยังระอุอยู่ทุกขณะ เมื่อโลกพร้อมใจกันคว่ำบาตรทางเศรษฐกิจรัสเซียเพื่อแสดงจุดยืนต่อต้านการรุกราน และคอลัมน์ PopCapture ก็พาสำรวจโลกของการคว่ำบาตร ที่มีมากกว่าด้านการเงิน แต่หมายรวมถึงด้านวัฒนธรรมที่ชวนบาดเจ็บไม่แพ้กันด้วย

พิมพ์ชนก พุกสุข

30 Mar 2022

PopCapture

14 Feb 2022

‘996’ ระบบทำงาน 9 โมงเช้าถึง 3 ทุ่มที่สร้างแผลทางเศรษฐกิจครั้งใหญ่ให้จีน

คอลัมน์ PopCapture เขียนถึงระบบการทำงานแบบ 996 หรือทำงานตั้งแต่ 9 โมงเช้าถึง 3 ทุ่มในจีน จนเกิดการลุกฮือของเหล่าพนักงานออฟฟิศก่อนจะเกิดปรากฏการณ์ที่สร้างผลสะเทือนต่อเศรษฐกิจจีนในภาพรวม

พิมพ์ชนก พุกสุข

14 Feb 2022

Life & Culture

12 Jan 2022

Life is Suffering การมีชีวิตมันยากเสียจริง (โว้ย!)

คอลัมน์ PopCapture เขียนถึงภาวะที่คนรุ่นใหม่หมดอาลัยต่อชีวิต อันเนื่องมาจากแรงกดดันและบีบคั้นทางสังคมการเมืองที่พวกเขาต้องเผชิญมาเป็นเวลานาน

พิมพ์ชนก พุกสุข

12 Jan 2022

PopCapture

7 Dec 2021

รวันดา : การชำระประวัติศาสตร์เหตุฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ เราเรียนรู้อะไรได้บ้าง

คอลัมน์ PopCapture พิมพ์ชนก พุกสุข เขียนถึงบทเรียนจากการชำระประวัติศาสตร์เหตุฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ในรวันดา เมื่อการยอมรับบาดแผลและชำระประวัติศาสตร์มืดคือบันไดขั้นแรกของการก้าวไปข้างหน้า

พิมพ์ชนก พุกสุข

7 Dec 2021

World

8 Nov 2021

บราซิลเลียน โมเดล : ฟ้องผู้นำ ชาติพ้นภัย (?) กรณี ปธน.โบลโซนารู จ่อถูกตั้งข้อหาฆาตกรรมจากความผิดพลาดในวิกฤตโควิด

เมื่อการฟ้องผู้นำอาจช่วยให้ชาติพ้นภัย? คอลัมน์ PopCapture พิมพ์ชนก พุกสุข เขียนถึง เหตุการณ์ฟ้องร้องฌาอีร์ โบลโซนารู ประธานาธิบดีแห่งบราซิล ในข้อหาฆาตกรรมและฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ กรณีจัดการวิกฤตโควิด-19 ที่ผิดพลาดจนนำมาสู่การเสียชีวิตของผู้คนกว่า 6 แสนชีวิต

พิมพ์ชนก พุกสุข

8 Nov 2021

PopCapture

7 Oct 2021

‘เอาโรนัลโดมายิงลูกโทษแทนสิ’ เอมิลิโอ มาร์ติเนซ เรื่องของการ Trash Talk ในโลกวิทยาที่เป็นเรื่องของจิตวิทยามากกว่าการถากถาง

คอลัมน์ PopCapture พิมพ์ชนก พุกสุข เขียนถึง Trash Talk หรือการพูดจาปั่นประสาทผู้เล่นฝั่งตรงข้ามเพื่อให้อีกฝ่ายหัวร้อนรำคาญใจจนพลาดโอกาสทำคะแนนในแวดวงกีฬา ที่นอกจากจะเป็นการกระทำที่ไม่ผิดกฎและสร้างสีสันระหว่างการแข่งขันแล้ว ยังเป็นหนึ่งเทคนิคทำคะแนนที่เกี่ยวข้องกับเรื่องจิตวิทยาล้วนๆ

พิมพ์ชนก พุกสุข

7 Oct 2021

Life & Culture

8 Sep 2021

คนกระโปกแห่งยุคสมัย 199x ทำไมเด็กเจนวายไม่ยอมโต

คอลัมน์ PopCapture พิมพ์ชนก พุกสุข เขียนถึงสาเหตุสำคัญว่าเพราะอะไร ‘ชาวมิลเลนเนียลส์’ ถึงไม่อาจเติบโตได้อย่างที่ใจหวัง

พิมพ์ชนก พุกสุข

8 Sep 2021

PopCapture

9 Aug 2021

โอลิมปิกและเหรียญรางวัล ทำไมการเป็นเจ้าเหรียญทองจึงอิงแอบกับประเทศมหาอำนาจ

เมื่อการเป็นเจ้าเหรียญทองโอลิมปิกไม่ได้ขึ้นอยู่กับแค่ฝีมือของนักกีฬา คอลัมน์ PopCapture พิมพ์ชนก พุกสุข เขียนถึงปัจจัยด้านเศรษฐกิจและการสนับสนุนของภาครัฐ ตัวแปรสำคัญของการขึ้นเป็นประเทศเจ้าแห่งเหรียญทอง

พิมพ์ชนก พุกสุข

9 Aug 2021
1 2 3

RECOMMENDED

World

27 Mar 2024

ทำไมเราถึงสนใจชีวิตของคนในราชวงศ์ (อังกฤษ) กันนักนะ

คอลัมน์ Popcapture เดือนนี้ชวนสำรวจความสนใจที่ผู้คนมีต่อราชวงศ์อังกฤษ อะไรที่ทำให้ราชวงศ์วินด์เซอร์เป็นที่สนใจของผู้คนกลุ่มใหญ่มากมายถึงเพียงนี้

พิมพ์ชนก พุกสุข

27 Mar 2024

US

5 Apr 2024

ภาวะ ‘เขาควาย’ (dilemma) ของโจ ไบเดน: ความอับจนของมหาอำนาจต่อหน้าการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์

ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ วิเคราะห์การเผชิญหน้าของสหรัฐฯ ต่อสองวิกฤตการเมืองโลกคือ รัสเซีย-ยูเครน และ ฮามาส-อิสราเอล ภายใต้การนำของโจ ไบเดน ที่ตอบสนองต่อสองเรื่องนี้ในทิศทางตรงกันข้าม

ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ

5 Apr 2024

Life & Culture

26 Mar 2024

ฆ่าความไร้เดียงสา To Kill a Mockingbird (ผู้บริสุทธิ์)

‘นรา’ เขียนถึงนิยาย To Kill a Mockingbird หรือ ‘ผู้บริสุทธิ์’ ผลงานชิ้นเยี่ยมของฮาร์เปอร์ ลี ที่ได้รางวัลพูลิตเซอร์และดัดแปลงเป็นภาพยนตร์ได้อย่างซาบซึ้งตรึงใจ

นรา

26 Mar 2024

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save