fbpx

column name

29 Apr 2024

“คุณผู้หญิง คุณจะเลือกติดป่าอยู่กับใคร ระหว่างผู้ชายกับหมี” เมื่อผู้ชายอาจ ‘ร้าย’ กว่าหมี

คำถามง่ายๆ และชวนหัวทาง TikTok กลายเป็นไวรัลขึ้นมาทันทีเมื่อผู้หญิงเลือกเสี่ยงไปอยู่กับหมีป่ามากกว่าผู้ชาย แล้วทำไมจึงเป็นเช่นนั้นล่ะ!

พิมพ์ชนก พุกสุข

29 Apr 2024

Phenomenon

25 Apr 2024

เดินเร็ว – แก่ช้า : เมื่อการเดินทำให้มนุษย์แตกต่างจากสัตว์

คอลัมน์ ‘Phenomenon’ สัปดาห์นี้ โตมร ศุขปรีชา พาสำรวจ ‘วัฒนธรรมการเดิน’ อันเปรียบเสมือนของขวัญที่ทำให้มนุษย์แตกต่างจากสัตว์

โตมร ศุขปรีชา

25 Apr 2024

กระจายอำนาจคือคำตอบ

24 Apr 2024

ผลิตจิตแพทย์

เมื่อปัญหาจิตแพทย์ขาดแคลนเป็นเพียงภาพสะท้อนปลายเหตุ นายแพทย์ประเสริฐ ผลิตผลการพิมพ์ จึงชวนดูต้นเหตุของเรื่องนี้ ซึ่งโยงใยปัญหานานา

ประเสริฐ ผลิตผลการพิมพ์

24 Apr 2024

Books

23 Apr 2024

ซินเดอเรลลา-ทวาทศมาส Like Water for Chocolate (ขมเป็นน้ำตาล หวานเป็นน้ำตา)

‘นรา’ แนะนำนิยายชิงรักหักสวาทแต่คลาสสิกขึ้นหิ้งของแวดวงวรรณกรรมละตินอเมริกัน Like Water for Chocolate – ขมเป็นน้ำตาล หวานเป็นน้ำตา ของเลารา เอสกิเวล

นรา

23 Apr 2024

Phenomenon

19 Apr 2024

ถนนก็ต้องการ Storytelling : เมื่อรถใหญ่ใช้ทางกลับรถของมอเตอร์ไซค์

คอลัมน์ ‘Phenomenon’ สัปดาห์นี้ โตมร ศุขปรีชา พาสำรวจแนวทางการออกแบบถนน ชวนคิดเรื่องการสื่อสารกับผู้ขับขี่ด้วยการเล่าเรื่อง (storytelling) และเปิดความเป็นไปได้ใหม่ๆ ในการออกแบบสังคมที่ทุกคนได้ใช้ท้องถนนร่วมกันอย่างมีประสิทธิภาพ

โตมร ศุขปรีชา

19 Apr 2024

ข้างสนาม

18 Apr 2024

ฉายานี้ท่านได้แต่ใดมา? ทีมชาติคอสตาริกา เจ้าของฉายากล้วยหอม!

‘ข้างสนาม’ ชวนสำรวจฉายาที่ ‘อิหยังวะ’ นั่นคือทีมชาติคอสตาริกาที่มีฉายา ‘กล้วยหอม’ ว่ามีที่มาอย่างไร และทำไมถึงต้องเป็นกล้วยหอม

เจนอักษร ธนวรสกุล

18 Apr 2024

Life & Culture

18 Apr 2024

มาเฟียตกสวรรค์ Goodfellas

‘นรา’ เขียนถึง Goodfellas ของมาร์ติน สกอร์เซซี หนังมาเฟียขึ้นหิ้งเคียงคู่กับ Godfather ที่อัดแน่นไปด้วยลีลาทางภาพยนตร์ฉบับปรมาจารย์

นรา

18 Apr 2024

Life & Culture

16 Apr 2024

สมมติฐานว่าด้วยหนงจื้อเกากับประวัติศาสตร์ล้านนา (1)

พริษฐ์ ชิวารักษ์ เล่าชีวประวัติของ ‘หนงจื้อเกา’ วีรบุรุษในตำนานชาวไท ที่นักศึกษาไทคดีและล้านนาคดีบางส่วนเชื่อว่ามีความสัมพันธ์กับประวัติศาสตร์ล้านนา

พริษฐ์ ชิวารักษ์

16 Apr 2024

Phenomenon

11 Apr 2024

จาก ‘หลานม่า’ ถึงปรากฏการณ์ผู้สูงวัยใน TikTok : caregiver และการออกแบบ ‘วาระสุดท้าย’ ในทางสังคม

คอลัมน์ ‘Phenomenon’ สัปดาห์นี้ โตมร ศุขปรีชา พาสำรวจปรากฏการณ์ ‘หลานม่า’ และผู้สูงวัยใน Tik Tok สะท้อนเรื่องการดูแลผู้สูงอายุซึ่งถูกผลักให้เป็นเพียงเรื่องของปัจเจกและความกตัญญู จุดประเด็นให้มีการจัดการทางสังคมแบบใหม่เพื่อออกแบบ ‘วาระสุดท้าย’ ให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงสู่สังคมผู้สูงอายุ

โตมร ศุขปรีชา

11 Apr 2024

My Voice

10 Apr 2024

ระบอบทักษิณ-ระบอบประยุทธ์ จุดเริ่มต้นแตกต่าง ปลายทางเดียวกัน

ประทีป คงสิบ ชวนมองเปรียบเทียบ ‘ระบอบทักษิณ’ กับ ‘ระบอบประยุทธ์’ จากจุดเริ่มต้นที่แตกต่าง แต่ปลายทางกลับมีจุดหมายเดียวกัน

ประทีป คงสิบ

10 Apr 2024

US

5 Apr 2024

ภาวะ ‘เขาควาย’ (dilemma) ของโจ ไบเดน: ความอับจนของมหาอำนาจต่อหน้าการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์

ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ วิเคราะห์การเผชิญหน้าของสหรัฐฯ ต่อสองวิกฤตการเมืองโลกคือ รัสเซีย-ยูเครน และ ฮามาส-อิสราเอล ภายใต้การนำของโจ ไบเดน ที่ตอบสนองต่อสองเรื่องนี้ในทิศทางตรงกันข้าม

ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ

5 Apr 2024

Phenomenon

5 Apr 2024

ค่าจ้างขั้นต่ำกับคุณภาพความเป็นคน

คอลัมน์ ‘Phenomenon’ สัปดาห์นี้ โตมร ศุขปรีชา ชวนคิดเรื่องการปรับขึ้น ‘ค่าจ้างขั้นต่ำ’ ที่ไม่ใช่แค่ประเด็นระดับจุลภาค แต่เกี่ยวโยงอย่างไรถึงโครงสร้างสังคมวัฒนธรรมไทย และเพราะอะไรการปรับขึ้นค่าจ้างขั้นต่ำจะทั้งช่วยสร้างกลไกการแข่งขันที่เป็นธรรมและส่งเสริม ‘เสรีนิยม’ ทางเศรษฐกิจอย่างที่ควรจะเป็น

โตมร ศุขปรีชา

5 Apr 2024

Life & Culture

4 Apr 2024

ปัญหาการผูกขาดปัญญาประดิษฐ์ ที่จะมาลิขิตชีวิตเรา

เอกศาสตร์ สรรพช่าง เขียนถึงปัญหาของการพัฒนาปัญญาประดิษฐ์ ที่ถูกผูกขาดโดยบริษัทเทคฯ ของสองชาติมหาอำนาจต่างขั่ว – สหรัฐและจีน

เอกศาสตร์ สรรพช่าง

4 Apr 2024

ไทยไม่ใช่กรุงเทพฯ

31 Mar 2024

ฝาท่อที่ญี่ปุ่นบอกอะไรกับเรา

ณัฐกร วิทิตานนท์ เขียนถึงการออกแบบฝาท่อที่ประเทศญี่ปุ่นเพื่อสะท้อนเกี่ยวกับการกระจายอำนาจและการปกครองท้องถิ่น

ณัฐกร วิทิตานนท์

31 Mar 2024

Phenomenon

29 Mar 2024

อย่าทำให้เสรีภาพเป็นปีศาจ : ว่าด้วยเสรีภาพเชิงบวกและเชิงลบ

คอลัมน์ ‘Phenomenon’ สัปดาห์นี้ โตมร ศุขปรีชา ชวนคิดเรื่องความหมายของเสรีภาพเชิงบวกและเชิงลบ ตลอดจนความสำคัญของเสรีภาพในฐานะเสาหลักของการสร้างสังคมประชาธิปไตย

โตมร ศุขปรีชา

29 Mar 2024
1 2 85

MOST READ

Phenomenon

11 Apr 2024

จาก ‘หลานม่า’ ถึงปรากฏการณ์ผู้สูงวัยใน TikTok : caregiver และการออกแบบ ‘วาระสุดท้าย’ ในทางสังคม

คอลัมน์ ‘Phenomenon’ สัปดาห์นี้ โตมร ศุขปรีชา พาสำรวจปรากฏการณ์ ‘หลานม่า’ และผู้สูงวัยใน Tik Tok สะท้อนเรื่องการดูแลผู้สูงอายุซึ่งถูกผลักให้เป็นเพียงเรื่องของปัจเจกและความกตัญญู จุดประเด็นให้มีการจัดการทางสังคมแบบใหม่เพื่อออกแบบ ‘วาระสุดท้าย’ ให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงสู่สังคมผู้สูงอายุ

โตมร ศุขปรีชา

11 Apr 2024

My Voice

10 Apr 2024

ระบอบทักษิณ-ระบอบประยุทธ์ จุดเริ่มต้นแตกต่าง ปลายทางเดียวกัน

ประทีป คงสิบ ชวนมองเปรียบเทียบ ‘ระบอบทักษิณ’ กับ ‘ระบอบประยุทธ์’ จากจุดเริ่มต้นที่แตกต่าง แต่ปลายทางกลับมีจุดหมายเดียวกัน

ประทีป คงสิบ

10 Apr 2024

US

5 Apr 2024

ภาวะ ‘เขาควาย’ (dilemma) ของโจ ไบเดน: ความอับจนของมหาอำนาจต่อหน้าการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์

ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ วิเคราะห์การเผชิญหน้าของสหรัฐฯ ต่อสองวิกฤตการเมืองโลกคือ รัสเซีย-ยูเครน และ ฮามาส-อิสราเอล ภายใต้การนำของโจ ไบเดน ที่ตอบสนองต่อสองเรื่องนี้ในทิศทางตรงกันข้าม

ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ

5 Apr 2024

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save