fbpx

Trends

23 Jun 2017

Homo Deus : ทำไมมนุษย์จะไม่ครองโลกตลอดไป

วรากรณ์ สามโกเศศ เล่าเรื่อง Homo Deus หรือ human god หนังสือเล่มต่อของ Yuval Noah Harari ผู้เขียน Sapiens อันโด่งดัง มาค้นหาว่าเมื่อมนุษย์เป็นสัตว์ที่ประสบความสำเร็จที่สุดในการครองโลก แล้วเราจะสามารถดำรงสถานะเช่นนี้อยู่ได้ตลอดไปหรือไม่

วรากรณ์ สามโกเศศ

23 Jun 2017

Political Economy

20 Jun 2017

เค้าโครงการเศรษฐกิจของปรีดี พนมยงค์ ในสายธารความคิดเศรษฐศาสตร์

ในวาระ 85 ปี การอภิวัฒน์สยาม 24 มิถุนายน 2475 101 เริ่มต้นซีรีส์ “2475” ด้วยผลงานของ สฤณี อาชวานันทกุล ที่ชวนเรากลับไปอ่าน “เค้าโครงการเศรษฐกิจ” ของปรีดี พนมยงค์ อีกครั้ง เพื่อสืบหาข้อคิดจากเค้าโครงการเศรษฐกิจในสายธารความคิดของเศรษฐศาสตร์ยุคปัจจุบัน โดยพยายามเสนอคำตอบเบื้องต้นต่อคำถามที่ว่า เราจะบรรลุเป้าหมาย “ความสุขสมบูรณ์” ของประชาชนดังเจตนารมณ์ของอาจารย์ปรีดีภายใต้เศรษฐกิจยุคใหม่ได้อย่างไร

สฤณี อาชวานันทกุล

20 Jun 2017

Thai Politics

16 Jun 2017

อ่าน critical juncture ของไทย ผ่านเรื่องเล่าของธเนศ อาภรณ์สุวรรณ

ศุภมิตร ปิติพัฒน์ ชวนฝึกอ่านสถานการณ์จากสภาพปัญหาด้วยเครื่องมือที่เรียกว่า “critical juncture” เมื่อกระแสสำคัญทางการเมืองเคลื่อนบรรจบกัน จนกดดันให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางสังคม เรามองเห็นขอบฟ้าความเป็นไปได้ของสถานการณ์ที่จะเกิดขึ้นต่อไปอย่างไร

ศุภมิตร ปิติพัฒน์

16 Jun 2017

City

9 Jun 2017

บ้านคับกับเมืองแคบ ทางออกของคนเมืองศตวรรษ 21

เอกศาสตร์ สรรพช่าง ชวนคุยถึงเทรนด์ใหม่เกี่ยวกับที่อยู่อาศัยของเรา นั่นคือการอยู่ใน ‘ที่แคบ’ อย่างบ้านจิ๋ว ซึ่งกำลังเป็นที่นิยมมากขึ้นเรื่อยๆ อย่างว่าแหละเนอะ – คับที่น่ะอยู่ได้ แต่คับใจต่างหากที่อยู่ยาก!

เอกศาสตร์ สรรพช่าง

9 Jun 2017

Thai Politics

30 May 2017

พ่อของเธอ เพื่อนของเขา : จนกว่าเราจะพบกันใหม่ (ในสถานการณ์ปกติ)

ตลอดสามปีแห่งการ ‘คืนความสุข’ โดยคสช. คนจำนวนหนึ่งตกเป็นจำเลยด้วยข้อหาเป็นภัยต่อความมั่นคง นี่คือเรื่องเล่าของคนธรรมดาที่ไม่ได้อยู่ในรายการเดินหน้าประเทศไทย ไม่เคยปรากฏในสื่อกระแสหลัก แต่ประจักษ์แจ้งอยู่ในสมองและหัวใจของคนไทยกลุ่มหนึ่ง ซึ่งถูกทำให้เป็นอื่น และบางคนก็ต้องย้ายไปอยู่บนแผ่นดินอื่น—อย่างไม่มีกำหนดกลับ

พันธวัฒน์ เศรษฐวิไล

30 May 2017

Political Economy

22 May 2017

The Rise and Fall of Nations

สฤณี อาชวานันทกุล ชวนอ่านหนังสือ “The Rise and Fall of Nations” ของ Ruchir Sharma แห่ง Morgan Stanley Investment Management ค้นหาคำตอบกันว่า กฎจำง่าย 10 ข้อ เพื่อประเมินแนวโน้มการเติบโตของเศรษฐกิจแต่ละประเทศในยุค 4Ds มีอะไรบ้าง

สฤณี อาชวานันทกุล

22 May 2017

Trends

19 May 2017

คอมพิวเตอร์ไม่มีวันปลอดภัย

มารู้จัก WannaCry มัลแวร์เรียกค่าไถ่ ซึ่งกำลังระบาดหนักทั่วโลกให้มากขึ้น เพราะผลที่เกิดขึ้นอาจหมายถึงความตายของผู้คน วรากรณ์ สามโกเศศ เล่าสาเหตุหลักว่าทำไมคอมพิวเตอร์ถึงไม่มีวันปลอดภัย และผู้บริโภคอย่างเราต้องต่อสู้ภายใต้ความเสี่ยงนี้อย่างไร

วรากรณ์ สามโกเศศ

19 May 2017

Lifestyle

16 May 2017

Agony Uncle

คุณลุงเฮม่า (aka ภาณุ บุรุษรัตนพันธุ์ อดีตบรรณาธิการนิตยสาร Esquire) จะมาตอบคำถามสารพัน คราวนี้มาว่ากันด้วยเรื่อง
1) ถ้าต้องคิดก่อนจะสละที่นั่งให้สุภาพสตรีล่ะก็
2) สำเนียงส่อภาษา…จานซ้ายจานขวาส่อสกุล
และ 3) กุญแจรถอะไรไม่กลัวหาย

ภาณุ บุรุษรัตนพันธุ์

16 May 2017

Education

15 May 2017

ฉลาดเกมส์โกง: แกะประเด็นปัญหาการศึกษา

ไม่ว่าดูเอามันส์ ดูเอาดราม่า หรือดูเอาว่ามันสมจริงหรือเปล่า แต่ถ้าจะดูทั้งทีแล้ว ก็ดูเอาสาระจริงๆ จังเสียหน่อยเถอะ เพราะหนังฉลาดเกมส์โกง มันคือหนังการศึกษาชัดๆ ที่พูดถึงปัญหาการศึกษาที่อยู่รายล้อมรอบตัวเราทั้งสิ้น ลองไปดูกันว่ามันเกี่ยวยังไง

วชิรวิทย์ คงคาลัย

15 May 2017

Global Affairs

12 May 2017

วิธีอ่านสถานการณ์ 101

ศุภมิตร ปิติพัฒน์ เปิดเคล็ดวิชา “การอ่านสถานการณ์ 101” สำหรับอ่านสถานการณ์การเมืองโลก ตั้งแต่ “อ่านการเปลี่ยนแปลงของสถานการณ์” จนถึง “อ่านลงไปในตัวสถานการณ์”

ศุภมิตร ปิติพัฒน์

12 May 2017

Life & Culture

8 May 2017

สีผิวที่ถูกเหยียด จากอวกาศถึงแฟชั่น

กว่าที่คณิตกรผิวสีอย่างแคทเทอรีน จอห์นสัน จะได้รับการยกย่องว่ามีส่วนสำคัญช่วยให้นาซ่าประสบความสำเร็จ เธอก็อายุ 97 ปี เข้าไปแล้ว ส่วนออสติน เซอร์ ดีไซเนอร์ผิวดำ ก็บอกว่า การทำธุรกิจแฟชั่นนั้นว่ายากแล้ว แต่เป็นคนผิวดำยิ่งยากขึ้นไปอีก เพราะไม่มีธนาคารไหนอยากปล่อยเงินกู้ให้กับดีไซเนอร์ผิวดำ
เอกศาสตร์ สรรพช่าง ชวนสนทนาว่าด้วยเรื่องสีผิว จากบนอวกาศถึงแคตวอล์กแฟชั่น ว่าหลายสิบปีที่ผ่านมา มีการเปลี่ยนแปลงมากน้อยแค่ไหน

เอกศาสตร์ สรรพช่าง

8 May 2017

Political Economy

24 Apr 2017

Global Inequality

สฤณี อาชวานันทกุล ชวนอ่าน “กราฟช้าง” ของ Branko Milanović หนึ่งในกราฟแห่งยุคสมัยที่อธิบายสถานการณ์ความเหลื่อมล้ำระดับโลกได้ดีที่สุด

ใครได้ประโยชน์ ใครเสียประโยชน์ จากเศรษฐกิจโลกาภิวัตน์ร่วมสมัย สฤณีนำคำตอบจากหนังสือ Global Inequality ของ Milanović มาเล่าสู่กันอ่าน

สฤณี อาชวานันทกุล

24 Apr 2017

Trends

21 Apr 2017

“ซินแสโชกุน” ต้มตุ๋นสไตล์สากล

“ซินแสโชกุน” พุ่งติดชาร์ตขึ้นทำเนียบคนลวงโลกคนล่าสุดของสังคมไทย

วิถีลวงโลกของซินแสโชกุน แท้จริงแล้วมิได้มีอะไรใหม่ รูปแบบต้มตุ๋นก็เป็นไปตามที่สากลเขาเคยทำกัน จนมีชื่อเรียกว่า Ponzi Scheme และถือว่าเลวเท่าเทียมกันเพราะทำให้คนอื่นเจ็บปวดจากความสูญเสีย

“ซินแสโชกุน” มิใช่คนแรกก็จริง แต่ก็มิใช่คนสุดท้ายอย่างแน่นอน ตราบที่โลกยังเต็มไปด้วยคนโลภแบบไม่แคร์เหตุแคร์ผล

วรากรณ์ สามโกเศศ จะพาคุณย้อนประวัติศาสตร์ เล่าที่มาที่ไปของวิถีต้มตุ๋นที่ตั้งชื่อตามสุดยอดคนลวงโลก Charles Ponzi ชาวอิตาลี ผู้ข้ามน้ำข้ามทะเลมาหากินในอเมริกาด้วยเงินในกระเป๋าไม่ถึง 3 เหรียญ!

วรากรณ์ สามโกเศศ

21 Apr 2017

Life & Culture

18 Apr 2017

Drag Your Life With Love

สำรวจความยิ่งใหญ่ของรายการเรียลิตีโชว์ที่ขุดสาวๆ Drag Queens จากใต้ดินสู่บนดิน จากอินดี้สู่ความป๊อป และสอนให้เราต่อสู้ความเน่าหนอนของชีวิตด้วยการ ‘รักตัวเอง’

เทพพิทักษ์ มณีพงษ์

18 Apr 2017

Economic Focus

18 Apr 2017

ฉันเกิดและโตท่ามกลางวิกฤต ‘ต้มยำกุ้ง’

พันธวัฒน์ เศรษฐวิไล กองบรรณาธิการ 101 เล่าประสบการณ์ชมนิทรรศการ “ต้มยำกุ้งวิทยา : วิชานี้อย่าเลียน” ที่มิวเซียมสยามจัดทำขึ้นในวาระครบรอบ 20 ปี วิกฤตต้มยำกุ้ง – วิกฤตเศรษฐกิจที่รุนแรงที่สุดของสังคมเศรษฐกิจไทยนับจากสงครามโลกครั้งที่ 2 เป็นต้นมา

แฟลชแบ็คกลับไปเมื่อปี 2540 พันธวัฒน์มีอายุได้เพียง 6 ปีเท่านั้น “ต้มยำกุ้งวิทยา” ทำให้เขามองเห็นภาพความทรงจำอะไรในชีวิตของตัวเองและชีวิตของสังคมไทยบ้าง เหมือนหรือต่างกับประสบการณ์ของคุณผู้อ่านอย่างไร อ่านแล้วมาคุยกันครับ!

พันธวัฒน์ เศรษฐวิไล

18 Apr 2017
1 83 84 85

MOST READ

Phenomenon

11 Apr 2024

จาก ‘หลานม่า’ ถึงปรากฏการณ์ผู้สูงวัยใน TikTok : caregiver และการออกแบบ ‘วาระสุดท้าย’ ในทางสังคม

คอลัมน์ ‘Phenomenon’ สัปดาห์นี้ โตมร ศุขปรีชา พาสำรวจปรากฏการณ์ ‘หลานม่า’ และผู้สูงวัยใน Tik Tok สะท้อนเรื่องการดูแลผู้สูงอายุซึ่งถูกผลักให้เป็นเพียงเรื่องของปัจเจกและความกตัญญู จุดประเด็นให้มีการจัดการทางสังคมแบบใหม่เพื่อออกแบบ ‘วาระสุดท้าย’ ให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงสู่สังคมผู้สูงอายุ

โตมร ศุขปรีชา

11 Apr 2024

My Voice

10 Apr 2024

ระบอบทักษิณ-ระบอบประยุทธ์ จุดเริ่มต้นแตกต่าง ปลายทางเดียวกัน

ประทีป คงสิบ ชวนมองเปรียบเทียบ ‘ระบอบทักษิณ’ กับ ‘ระบอบประยุทธ์’ จากจุดเริ่มต้นที่แตกต่าง แต่ปลายทางกลับมีจุดหมายเดียวกัน

ประทีป คงสิบ

10 Apr 2024

US

5 Apr 2024

ภาวะ ‘เขาควาย’ (dilemma) ของโจ ไบเดน: ความอับจนของมหาอำนาจต่อหน้าการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์

ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ วิเคราะห์การเผชิญหน้าของสหรัฐฯ ต่อสองวิกฤตการเมืองโลกคือ รัสเซีย-ยูเครน และ ฮามาส-อิสราเอล ภายใต้การนำของโจ ไบเดน ที่ตอบสนองต่อสองเรื่องนี้ในทิศทางตรงกันข้าม

ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ

5 Apr 2024

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save