ความฝันนอกแท่นพิมพ์ ของ ชัยพร อินทุวิศาลกุล
คุยกับ ‘จ๊อก’ ชัยพร อินทุวิศาลกุล หัวเรือใหญ่แห่งโรงพิมพ์ ‘ภาพพิมพ์’ ผู้จุดประกายให้เกิดงาน ‘Lit Fest’ และอีกหลายโปรเจ็กต์ที่สร้างสีสันให้วงการหนังสือ
คุยกับ ‘จ๊อก’ ชัยพร อินทุวิศาลกุล หัวเรือใหญ่แห่งโรงพิมพ์ ‘ภาพพิมพ์’ ผู้จุดประกายให้เกิดงาน ‘Lit Fest’ และอีกหลายโปรเจ็กต์ที่สร้างสีสันให้วงการหนังสือ
เก็บความจากวงเสวนา ‘Futurising Thailand’ โลกใหม่ ความท้าทายใหม่ ยกระดับประเทศไทยในโลก 4.0 ว่าด้วยการพัฒนาขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศไทย ในยุคที่โลกกำลังก้าวเข้าสู่การปฏิวัติอุตสาหกรรมครั้งที่ 4
พันธวัฒน์ เศรษฐวิไล เก็บประเด็นสำคัญจากเวทีเสียงสะท้อนธรรมาภิบาลป่าไม้ ครั้งที่ 1 หัวข้อ “อุณหภูมิ 1.5 องศากับความเร่งด่วนที่ต้องมีธรรมาภิบาลป่าไม้” และการลงพื้นที่ ต.ดงพญา อ.บ่อเกลือ จ.น่าน
คุยกับ ศุ บุญเลี้ยง ว่าด้วยที่มาที่ไปของเพลง ‘ก๊อก ก๊อก ก๊อก’ ที่พูดถึงการกลับมาของประชาธิปไตย พร้อมชวนวิพากษ์สังคมไทย ในแง่มุมเขาไม่เคยเปิดเผยที่ไหนมาก่อน
พันธวัฒน์ เศรษฐวิไล คุยกับ สุมาลี เอกชนนิยม จิตรกรผู้เลือกวิถีโดดเดี่ยว และกลับมาอุทิศชีวิตให้การวาดรูปเต็มเวลาอีกครั้งหลังเกษียณ
พันธวัฒน์ เศรษฐวิไล คุยกับ ‘อธิคม คุณาวุฒิ’ ผู้ก่อตั้ง Way Magazine ว่าด้วยเส้นทางของสื่อในยุคเปลี่ยนผ่าน และหลักยึดในการทำงานสื่อตลอด 20 ปีที่ผ่านมา
พันธวัฒน์ เศรษฐวิไล สรุปภาพรวมแวดวงศิลปะ-วรรณกรรม ในแบบฉบับ 101 โดยมีไฮไลท์อยู่ที่วาระครบรอบ 100 ปีชาตกาล ‘นายผี’ และ ‘ปีศาจ’ รวมถึงการเกิดขึ้นของเพลง ‘ประเทศกูมี’ และภาพยนตร์ ’10 Years Thailand’ อันสะท้อนภาพประวัติศาสตร์ที่อาจซ้ำรอย
คุยกับ ‘ไอดา อรุณวงศ์’ บรรณาธิการสำนักพิมพ์อ่าน ว่าด้วยชีวิตและการงานหลังรัฐประหาร โดยเฉพาะบทบาทของการเป็น ‘นายประกัน’
พันธวัฒน์ เศรษฐวิไล เก็บความจากเสวนา ‘วรรณกรรมของนายผี กับความยุติธรรมของอัศนี พลจันทร’ ร่วมด้วย ชูศักดิ์ ภัทรกุลวณิชย์ กับ วรเจตน์ ภาคีรัตน์ ในวาระครบรอบ 100 ปีชาตกาล ‘นายผี’
พันธวัฒน์ เศรษฐวิไล เขียนถึง ‘Nan Poesie’ เทศกาลบทกวีแห่งเมืองน่าน ครั้งที่ 1 ที่รวบรวมกวี-คนทำงานศิลปะ ทั้งมืออาชีพและมือสมัครเล่น ควบคู่ไปกับการดึงชุมชนเข้ามามีส่วนร่วม
พันธวัฒน์ เศรษฐวิไล คุยกับ ดร.อิสระ ชูศรี นักภาษาศาสตร์ จากมหาวิทยาลัยมหิดล ชวนชำแหละวาทกรรมการเมืองในยุค คสช. จาก ‘คืนความสุข’ ถึง ‘ประเทศกูมี’
พันธวัฒน์ เศรษฐวิไล คุยกับ ‘Trishes’ ศิลปินเชื้อสายตรินิแดด ที่เกิดและโตในอเมริกา ในวาระที่เธอมาเล่นคอนเสิร์ตที่กรุงเทพฯ นอกจากตัวตนที่ผลงานที่น่าสนใจ มุมมองของเธอในฐานะ ‘คนนอก’ ที่ใช้ชีวิตอยู่ในอเมริกาก็น่ารับฟังไม่น้อยไปกว่ากัน