Life & Culture

23 Jan 2018

งานฟุตบอลประเพณีฯ ให้อะไรเรา

ทุกๆ ปี เราจะได้ข่าวคราวการจัดงานฟุตบอลประเพณีของสองมหาวิทยาลัยใหญ่ – จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ซึ่งหลายคนก็อาจจะงงอยู่ว่างานนี้คืออะไร จัดมาได้อย่างไร และทำไมเราต้องสนใจ งานนี้มี ‘หน้าที่’ อะไรต่อสังคมวงกว้างหรือเปล่า

วชิรวิทย์ คงคาลัย

23 Jan 2018

Life & Culture

27 Nov 2017

ชีวิต ตัวตน และเพจ ของ ลูกแก้ว-โชติรส นาคสุทธิ์

คุยกับ ลูกแก้ว-โชติรส นาคสุทธิ์ ผู้ให้กำเนิดเพจ ‘สตรีผู้หลงใหลในบทกวี’ , ‘เจ้าแม่’ และ ‘ยั่ว-Yed’ ว่าทำไมเธอถึงได้ทำเพจเหล่านี้ขึ้นมา อะไรคือแรงบันดาลใจของเธอ และเธอต้องการอะไรจากการทำเพจเหล่านี้

วชิรวิทย์ คงคาลัย

27 Nov 2017

Thai Politics

9 Nov 2017

ก๋วยเตี๋ยว กับ ปฏิวัติ 2475

อาหารการกินไม่ได้มีความสำคัญกับเราในแง่การดำรงชีวิตเท่านั้น แต่มันยังสำคัญกับเราในแง่การสร้างความหมายให้กับตัวเราอีกด้วย

ก๋วยเตี๋ยว อาหารเลื่องชื่อของคนไทยมีส่วนในการเปลี่ยนแปลงความหมายของพวกเราอย่างไร และไปเกี่ยวอะไรกับ ปฏิวัติ 2475 ไปดูกันครับ

วชิรวิทย์ คงคาลัย

9 Nov 2017

Film & Music

7 Nov 2017

ยิ่งฟังเพลงคันทรี ก็ยิ่งอยากจะฆ่าตัวตายมากขึ้น?

คุณคิดว่าการฟังเพลงแนวไหนที่จะทำให้คุณอยากฆ่าตัวตายมากขึ้น ร็อค หรือเมทัล? ไม่แน่นะครับ หลังจากที่คุณอ่านบทความนี้จบแล้ว คุณอาจจะเปลี่ยนความคิดก็ได้ และพบว่า ‘เพลงแนวคันทรี’ ที่ฟังสบายๆ นี่แหละคือเพลงที่ทำให้คุณชวนคิดสั้นได้ง่ายๆ

วชิรวิทย์ คงคาลัย

7 Nov 2017

Lifestyle

6 Nov 2017

หน้าตาของออฟฟิศยุคใหม่: เดินไปมาเสียบ้าง งานจะได้เดิน?

เคยสำรวจกันบ้างไหมว่าที่ทำงานของตัวเองมีลักษณะแบบไหน เอื้อให้เราได้ทำงานอย่างมีประสิทธิภาพหรือเปล่า บางคนถึงขั้นโทษตัวเองเมื่อทำงานไม่ดี ทั้งนี้และทั้งนั้น ผลที่เกิดขึ้นอาจไม่ได้เกิดจากผู้ทำงานเสมอไปนะครับ ‘ที่ทำงาน’ ก็มีผลด้วยเช่นกัน วันนี้เราจะพาไปดูว่าที่ทำงานที่คู่ควรสำหรับพวกเราคืออะไร

วชิรวิทย์ คงคาลัย

6 Nov 2017

City

31 Oct 2017

การสร้างเมืองแบบพอร์ตแลนด์: ความคิด ความร่วมมือ และความพยายาม

หากพูดถึงเมืองที่เขียวและยั่งยืนเป็นอันดับต้นๆ ของโลก หลายคนคงนึกถึงเมืองพอร์ตแลนด์อย่างแน่นอน แต่กว่าเมืองพอร์ตแลนด์จะมาเป็นอย่างที่เห็นในวันนี้ไม่ใช่เรื่องง่าย
วันนี้ นายกเทศมนตรีแห่งเมืองพอร์แลนด์จะมาบอกเล่าประสบการณ์การพัฒนาเมืองแบบพอร์ตแลนด์ให้ฟัง ลองไปดูกันว่าเมืองพอร์ตแลนด์เดินมาถึงจุดนี้ได้อย่างไร

วชิรวิทย์ คงคาลัย

31 Oct 2017

Sustainability

25 Oct 2017

ผลกระทบของ Brexit กับปัญหาขยะ

จะเป็นอย่างไรหาก Brexit เกิดขึ้นอย่างสมบูรณ์ สิ่งที่จินตนาการได้ตอนนี้ก็คือ ‘ขยะ’ มีการคาดการณ์ว่าขยะจะล้นอังกฤษ และไฟฟ้าในบางประเทศของประเทศสหภาพยุโรปจะหมดลง ไปดูกันว่า สิ่งเหล่านี้จะเกิดขึ้นได้อย่างไร

วชิรวิทย์ คงคาลัย

25 Oct 2017

City

20 Oct 2017

เราจะอยู่ร่วมกันกับการค้าข้างทางได้อย่างไร: บทเรียนจากนานาประเทศถึงไทย

ปัญหาการค้าข้างทางมักเป็นปัญหาหนึ่งที่ใครหลายๆ คนมักบ่นถึง บางคนถึงขั้นบอกว่า วิธีการจัดการที่ดีที่สุดก็คือ การนำมันออกไป แต่นี่นับเป็นวิธีการที่ดีที่สุดแล้วหรือ เพราะหลายครั้งที่ผ่านมา เวลามีการจัดระเบียบไล่รื้อ พอเวลาผ่านไป แผงลอยก็จะกลับมาใหม่เสมอ แล้วเราควรทำอย่างไรดี?

วชิรวิทย์ คงคาลัย

20 Oct 2017

Life & Culture

10 Oct 2017

ให้ใบหน้าเล่าเรื่องเพศ

หากจะดูว่าคนที่เข้ามานั้นอยาก ‘จริงใจ’ หรือแค่ ‘ซัมธิง’ คุณอ่านเขาได้จากอะไรบ้าง วิธีการพูด? สีหน้า? ความคิด? แน่นอนว่าสิ่งเหล่านี้ หากเอามาวิเคราะห์รวมๆ กัน มันก็สามารถบอกได้ แหม! แต่กว่าจะอ่าน ‘คนคนนั้นของคุณ’ ออก ก็คงนานและเหนื่อยใช่เล่นเลยล่ะ เราลองมาใช้วิธีอื่นกันบ้างไหมครับ อย่างเช่น ‘การดูใบหน้าของเขา’ กันดีกว่า

วชิรวิทย์ คงคาลัย

10 Oct 2017

City

6 Oct 2017

‘ขอนแก่นโมเดล’ พัฒนาเมืองด้วยพลังคนเมือง : คุยกับ สุรเดช ทวีแสงสกุลไทย

หากพูดถึงเรื่องเมืองที่กำลังมาแรงในประเทศไทย ขอนแก่นน่าจะเป็นหนึ่งในนั้นอย่างแน่นอน ทุกวันนี้ ทุกคนต่างประจักษ์กันแล้วว่า ขอนแก่นเป็นเมืองแรกๆ ที่ลุกขึ้นมาพัฒนาตัวเอง โดยเริ่มจากคนท้องถิ่น ไม่ง้อรัฐ จนกลายเป็นโมเดลที่เมืองอื่นๆ อยากเดินตาม คำถามสำคัญคือ เขาเดินมาถึงจุดนี้กันได้อย่างไร สุรเดช ทวีแสงสกุลไทย จะมาเป็นผู้ไขข้อสงสัยดังกล่าว

วชิรวิทย์ คงคาลัย

6 Oct 2017

Anti-Corruption

4 Oct 2017

คอร์รัปชัน : ปัญหาของเส้นแบ่งระหว่างเรื่องส่วนตัวเรื่องสาธารณะ

หลายคนอาจจะงงว่า การเอากระดาษจากที่ทำงานมาใช้ส่วนตัว นี่ผิดหรือไม่ บางคนบอกว่าก็ทำๆ ไปเถอะ เพราะใครๆ เขาก็ทำกัน อย่างไรก็ตาม ถ้าพูดกันอย่างซีเรียสแล้ว มันคือ คอร์รัปชันระดับย่อมๆ ได้เลยนะ แต่ก็อีกนั่นแหละ พวกเราหลายคนก็ยังไม่เชื่อว่าเป็นคอร์รัปชันอยู่ดี เพราะอะไร?

วชิรวิทย์ คงคาลัย

4 Oct 2017

Global Affairs

28 Sep 2017

ปลากระป๋องกับอาณานิคม

ปลากระป๋องที่เรากินอยู่ทุกวันนี้ นอกจากปลาที่รสชาติอร่อยแล้ว มันยังแฝงไปด้วยเกร็ดเล็กเกร็ดน้อยทางประวัติศาสตร์ที่น่าสนใจไม่น้อย

วชิรวิทย์ คงคาลัย

28 Sep 2017
1 2 5

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save