fbpx

Life & Culture

6 Jan 2020

โรคหัด: ฆาตกรผู้หวนกลับมา

นิติ ภวัครพันธุ์ เขียนถึง การระบาดของ ‘โรคหัด’ ฆาตกรที่คร่าชีวิตผู้คนอีกครังในยุคสมัยปัจจุบัน และชวนย้อนอดีตสำรวจโรคระบาดที่เกิดในพื้นที่ต่างๆ ทั่วโลก จากการติดต่อสัมพันธ์กับ ‘คนผิวขาว’

นิติ ภวัครพันธุ์

6 Jan 2020

Books

31 Dec 2019

สื่อ-ศิลป์ 2019 : ปีแห่งการช่วงชิงพื้นที่และเสรีภาพ

พันธวัฒน์ เศรษฐวิไล ประมวลภาพรวมแวดวงสื่อมวลชน-ศิลปวัฒนธรรม ผ่านผลงานของ 101 ในปี 2019 – ปีแห่งการช่วงชิงพื้นที่และเสรีภาพ

พันธวัฒน์ เศรษฐวิไล

31 Dec 2019

Art & Design

29 Dec 2019

Site of Memory / Site of Contesting : การเดินทางของหอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร

ธนาวิ โชติประดิษฐ เขียนถึงการเดินทางหอศิลป์ฯ ปทุมวัน ในฐานะพื้นที่ที่เป็นหมุดหมายสำคัญทางศิลปะ เช่นเดียวกับการเป็นพื้นที่ในการชุมนุมและแสดงออกทางการเมืองในช่วงสิบกว่าปีที่ผ่านมา

ธนาวิ โชติประดิษฐ

29 Dec 2019

Human & Society

28 Dec 2019

ถ้าข้างหน้าทางมันมืด

วรพจน์ พันธุ์พงศ์ เขียนถึงภาวะการทำงานสัมภาษณ์ในยุคสมัยที่ยังไม่มีใครเรียกอาชีพ “นักสัมภาษณ์” กระทั่งผ่านคืนวันมาจนตกผลึกว่า “เหงื่อ งาน และการลงแรง” คือคำตอบ

วรพจน์ พันธุ์พงศ์

28 Dec 2019

Trends

28 Dec 2019

เทรนด์ 2019 : How to เดินทางสู่โลกแห่งอนาคตอย่างไรไม่ให้ตกขบวน

ภาวรรณ ธนาเลิศสมบูรณ์ ย้อนดูเทรนด์สำคัญในปี 2019 ว่าด้วยเรื่องความเปลี่ยนแปลงจากเทคโนโลยี และการเตรียมความพร้อมสู่ยุคดิจิทัลนับจากนี้เป็นต้นไป

ภาวรรณ ธนาเลิศสมบูรณ์

28 Dec 2019

Issue of the Age

26 Dec 2019

มองชีวิตผ่านพื้นที่ในปี 2019 : เมื่อปัญหาไม่เคยหายไปจากมนุษย์

ปาณิส โพธิ์ศรีวังชัย ย้อนมองเรื่องราวชีวิตที่เกิดขึ้นแต่ละพื้นที่ ซึ่งล้วนมีปัญหาเป็นของตัวเอง มองภาพรวมสกู๊ปตลอดปี 2019 ที่ฉายให้เห็นภาพการต่อสู้ของมนุษย์กับโครงสร้างที่กดทับอยู่

ปาณิส โพธิ์ศรีวังชัย

26 Dec 2019

Issue of the Age

26 Dec 2019

หนีจากชายขอบเพื่อปะทะกับความไม่เข้าใจ : สุขภาพจิต-เพศ ในปี 2019

ศุภาวรรณ คงสุวรรณ์ ชวนสำรวจเรื่องเพศและสุขภาพจิต ในปี 2019 เพื่อทบทวนว่า ในสองประเด็นที่สังคมเริ่มเปิดใจ มีแง่มุมไหนที่ยังก้าวไม่พ้นอคติ และความไม่เข้าใจของคนในสังคมบ้าง

ศุภาวรรณ คงสุวรรณ์

26 Dec 2019

Books

26 Dec 2019

ใครคือคิมจียอง?

จักรกริช สังขมณี เขียนถึงความเป็น ‘คิมจียอง’ ในสังคม ผ่านการไล่เรียงประวัติศาสตร์ของเกาหลี จนทำให้เกิดสังคมที่บีบคั้นให้ทุกคนต้องทำหน้าที่ตามเพศสถานะของตน ซึ่งไม่ได้เกิดเฉพาะกับผู้หญิงเท่านั้น

จักรกริช สังขมณี

26 Dec 2019

Human & Society

24 Dec 2019

‘สังคมผลักไส’ หรือ ‘อุปนิสัย’ อะไรกันแน่ที่ชี้ชะตาคน ?

ภัทราภรณ์ จึงเลิศศิริ เขียนโต้ตอบบทความที่กล่าวถึงการแต่งงานเพื่อย้ายถิ่นว่า ‘เกิดจากอุปนิสัยของผู้หญิงชาวอีสานที่รักสบาย’ แต่จากงานวิจัยที่ภัทราภรณ์ศึกษาพบว่า มีปัจจัยที่ซับซ้อนและละเอียดอ่อนกว่านั้น

กองบรรณาธิการ

24 Dec 2019

Lifestyle

21 Dec 2019

ม่วนกุ๊บ EP.3 – ความหนาวที่ไม่โรแมนติกในวัดป่าอีสาน

คอลัมน์ ‘ม่วนกุ๊บ’ เดือนนี้ ว่าด้วยความหนาวในวัดป่าอีสาน เล่าผ่านประสบการณ์และความทรงจำในช่วงที่ปาณิส โพธิ์ศรีวังชัย เข้าค่ายบนวัดป่าในช่วงมัธยมฯ

ปาณิส โพธิ์ศรีวังชัย

21 Dec 2019

Health

20 Dec 2019

ใจของเราก็เจ็บป่วยเป็น : สุขภาพจิตและความคิดฆ่าตัวตายของนักเรียนนักศึกษาไทย

ศุภาวรรณ คงสุวรรณ์ พาสำรวจสถานการณ์สุขภาพจิตของวัยรุ่น ปัญหาสภาพแวดล้อม ความเข้าใจของผู้ใหญ่ ไปจนถึงข้อจำกัดในการรับการรักษา ผ่านคำบอกแล้วของอาจารย์ นักจิตวิทยาในสถานศึกษา และตัวแทนเด็กและเยาวชน

ศุภาวรรณ คงสุวรรณ์

20 Dec 2019

Social Problems

19 Dec 2019

หลักประกันสุขภาพที่รัก (48) : สู่สังคมผู้สูงอายุ Amour

นายแพทย์ประเสริฐ ผลิตผลการพิมพ์ เขียนถึงการดูแลผู้ป่วยสูงวัยที่ช่วยเหลือตัวเองไม่ได้ผ่านการชมภาพยนตร์ฝรั่งเศส ‘Amour’ เมื่อสามีชราต้องเผชิญความเปลี่ยนแปลงของภรรยาคู่ทุกข์ที่อยู่ร่วมกันมา 50 ปี

ประเสริฐ ผลิตผลการพิมพ์

19 Dec 2019

Business

18 Dec 2019

Ordinary man’s journey : ชีวิตล้ม-ลุก-คลุก-คลาน ของปรเมศวร์ มินศิริ

คุยกับ ปรเมศวร์ มินศิริ ผู้ก่อตั้ง Sanook-Kapook ดอทคอม ตั้งแต่ก้าวแรกที่เขารู้จักคอมพิวเตอร์ พัฒนามานักธุรกิจ เขารับมือกับความผิดพลาดอย่างไร ต่อสู้กับคำวิจารณ์อย่างไร และสู้กับโจทย์ใหม่ในชีวิตอย่างไร

ปาณิส โพธิ์ศรีวังชัย

18 Dec 2019

Lifestyle

17 Dec 2019

น้ำพริกแดงบ่าเขือส้มจี่

กับข้าวกับแขก เดือนนี้ คำ ผกา เขียนถึง น้ำพริกแดงบ่าเขือส้มจี่ สำรับพื้นฐานของคนเมือง ที่กินคู่กับข้าวเหนียวนึ่งและจิ๊นปิ้งได้อร่อยเหลือร้าย

คำ ผกา

17 Dec 2019
1 108 109 110 176

MOST READ

Phenomenon

2 May 2024

พ่อแม่แบบไหนเสียใจที่มีลูก

คอลัมน์ ‘Phenomenon’ สัปดาห์นี้ โตมร ศุขปรีชา พาคิดเรื่อง ‘ความเสียใจที่มีลูก’ ชวนมองย้อนไปถึงแรงกดดันจากสังคมซึ่งสัมพันธ์กับค่านิยมเรื่องสถาบันครอบครัว

โตมร ศุขปรีชา

2 May 2024

Life & Culture

22 Apr 2024

‘หลานม่า’ มูลค่าแห่งความห่วงหาอาทร

ในความรักและเอาใจช่วย ‘หลานม่า’ (2024) หนังยาวของ พัฒน์ บุญนิธิพัฒน์ มากแค่ไหน แต่นักวิจารณ์ภาพยนตร์อย่าง ‘กัลปพฤกษ์’ ก็ยังอยากท้วงติงถึงความไม่สมบูรณ์บางอย่างของหนังอยู่ดี ไม่ว่าจะจากบทหรือการแสดงก็ตาม

‘กัลปพฤกษ์’

22 Apr 2024

Life & Culture

18 Apr 2024

หลานม่า : ต้นไม้ เพดาน บ้าน ฮวงซุ้ย

วิวัฒน์ เลิศวิวัฒน์วงศา ชวนสำรวจความสัมพันธ์ของครอบครัวคนไทยเชื้อสายจีนใน ‘หลานม่า’ (2024) หนังที่ว่าด้วยหลานชายที่ต้องไปดูแลอาม่าผู้ป่วยเป็นมะเร็ง สิ่งที่ซุกซ่อนอยู่ใต้เส้นเรื่องที่ดูเหมือนจะคาดเดาได้ คือลำดับขั้นของความสัมพันธ์และบาดแผลที่ส่งต่อกันจากรุ่นสู่รุ่น

วิวัฒน์ เลิศวิวัฒน์วงศา

18 Apr 2024

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save