Issue of the Age
Issue of the Age
เจาะลึกประเด็นร่วมสมัยของสังคม มองปัญหาสำคัญสังคม
อย่างถึงแก่น สำรวจความเป็นไปได้ใหม่ องค์ความรู้ใหม่
นโยบายใหม่ ที่เป็น พรมแดนความรู้ของแต่ละประเด็น
อย่างรอบด้าน
Filter
Sort
รัฐศักดินา-อาณานิคมแบบไทยๆ – กุลลดา เกษบุญชู มี้ด
ในวันที่สถานการณ์พื้นผิวดูนิ่งเงียบ เมื่อเทียบกับความร้อนแรงในช่วง 2-3 ปีที่ผ่านมา 101 ชวน รศ.ดร.กุลลดา เกษบุญชู มี้ด ตั้งหลักวิเคราะห์การเมืองและรัฐไทยอีกครั้ง


สมคิด พุทธศรี
30 Jun 2022ยุทธศาสตร์ไทยในกระดานหมากล้อมมหาอำนาจ – อาร์ม ตั้งนิรันดร
ดร.อาร์ม ตั้งนิรันดร วิเคราะห์ภูมิรัฐศาสตร์การเมืองระหว่างประเทศในวันที่ระเบียบโลกถูกขับเคลื่อนด้วยการแข่งขันระหว่างสองยักษ์มหาอำนาจจีน-สหรัฐอเมริกา


กองบรรณาธิการ
28 Jun 2022อ่านปัญหาในชีวิตและแรงสนับสนุนสิทธิ LGBTQ+ จากผลสำรวจเยาวชนของ คิด for คิดส์
คิด for คิดส์ ชวนผู้อ่านทำความเข้าใจความเจ็บปวดที่เยาวชนชาว LGBTQ+ ของไทยต้องเผชิญ พร้อมทั้งสำรวจแรงสนับสนุนของเยาวชนต่อนโยบายที่มุ่งสร้างความเสมอภาคทางเพศสภาพ ผ่านผลสำรวจเยาวชนไทย – คิด for คิดส์ Youth Survey 2022


วรดร เลิศรัตน์
16 Jun 2022ลดอายุผู้มีสิทธิเลือกตั้งจาก 18 เหลือ 15 ปี?: ขยายสิทธิให้เสียงเยาวชนมีความหมาย
คิด for คิดส์ ชวนผู้อ่านสำรวจปัญหาของระบอบการเมืองไทยที่ทำให้เสียงเยาวชนไร้ความหมาย เข้าใจถึงเหตุผลในการลดอายุผู้มีสิทธิเลือกตั้งจาก 18 เหลือ 15 ปี และร่วมขบคิดว่าถึงเวลาหรือยังที่เสียงเยาวชนควรถูกรับฟังผ่านการเลือกตั้งมากขึ้น


วรดร เลิศรัตน์
13 Jun 2022รัฐสวัสดิการ: ของข้าราชการ vs ของประชาชน
งบประมาณรัฐสวัสดิการของประชาชนยังคงไม่สามารถตามทันรัฐสวัสดิการของราชการ รัฐบาลไม่ได้ตั้งงบประมาณเพื่อเพิ่มสวัสดิการตามที่เคยหาเสียงไว้เมื่อปี 2562 แม้จะเป็นการจัดงบครั้งสุดท้ายก่อนเลือกตั้งใหญ่ปีหน้า


ฉัตร คำแสง
30 May 2022งบประมาณไทย จ่ายไปที่ไหนบ้าง?
76 จังหวัดได้งบประมาณรวมกันน้อยกว่ากรุงเทพฯ กว่าครึ่งหนึ่ง ท้องถิ่นจัดสรรงบได้เองเพียง 7%


ฉัตร คำแสง
23 May 2022Public Library ‘Outside In’ เปิดห้องสมุดสาธารณะผ่านมุมมองฝรั่งเศส-เยอรมนี
ในวันที่ห้องสมุดสาธารณะกำลังกลายเป็นหนึ่งในประเด็นสำคัญในการพัฒนา ‘เมืองกรุงเทพฯ’ ให้กลายเป็น ‘มหานครแห่งการเรียนรู้’ 101 ชวนมองความเปลี่ยนแปลงและแนวทางการพัฒนาห้องสมุดสาธารณะผ่านมุมมองแบบ ‘เทศมองไทย’ จากฝรั่งเศสและเยอรมนี สนทนากับห้องสมุดสถาบันเกอเธ่ ประเทศไทยและห้องสมุดมัลติมีเดียสมาคมฝรั่งเศส ว่าด้วยการออกแบบห้องสมุดสาธารณะกลายเป็นพื้นที่แห่งการเรียนรู้ในเมืองได้อย่างแท้จริง


ณรจญา ตัญจพัฒน์กุล
21 May 2022101 In Focus Ep.129: กรุงเทพฯ เมือง ‘คน’ สร้าง
101 ชวนฟังสารพัดประเด็นแห่งมหานครกรุงเทพฯ ทั้งปัญหาและวิธีแก้ ไล่เรียงตั้งแต่เรื่องสัตว์ในเมือง การออกแบบรูปแบบคมนาคมอย่างมีคุณภาพ การจัดระเบียบธุรกิจกลางคืน การจัดการพื้นที่การเรียนรู้ และคุณภาพชีวิตของคนขับมอเตอร์ไซค์


กองบรรณาธิการ
20 May 2022รถติด, รถไฟฟ้าแพง, น้ำท่วม, PM2.5 – ส่องวิสัยทัศน์ผู้สมัครผู้ว่าฯ กับปัญหาคลาสสิกของคนกรุง
สู่ช่วงโค้งสุดท้ายเลือกตั้งผู้ว่าฯ 101 ชวนย้อนดูวิสัยทัศน์ 5 ผู้สมัคร ต่อปัญหาคลาสสิกของคนกรุงเทพฯ ทั้งรถติด รถไฟฟ้าแพง น้ำท่วม และฝุ่น PM2.5


กองบรรณาธิการ
20 May 20223 ความท้าทาย จำกัดฝัน ตีกรอบผู้ว่าฯ กทม.
101 PUB วิเคราะห์ข้อจำกัดของอำนาจบริหาร กทม. ที่ผู้ว่าสมัยหน้าต้องรับมือและผลักดันการแก้ปัญหาโครงสร้าง


เจณิตตา จันทวงษา
17 May 2022เปลี่ยนเมืองบริหารยาก กลายเป็น ‘เมืองแห่งความหวัง’ กับ ชัชชาติ สิทธิพันธุ์
101 ชวน ชัชชาติ สิทธิพันธ์ุ พูดคุยถึงความท้าทายในสนามเลือกตั้งกรุงเทพฯ กลยุทธ์หาเสียง และนโยบายทีเด็ดที่จะเปลี่ยนกรุงเทพฯ ได้จริง


กาญจนา ปลอดกรรม
17 May 2022จาก ‘ไดร์ฟเวอร์’ สู่ ‘ไรเดอร์’ กับการเมืองเรื่อง (บน) ท้องถนน – ตั้งคำถามเรื่องทุนนิยม กับ เคลาดิโอ โซปรานเซ็ตติ
อ่านความสัมพันธ์-ขัดแย้งของวินมอไซค์กับไรเดอร์ และสิ่งที่ไรเดอร์ต้องเผชิญในการทำงานกับแพลตฟอร์ม ผ่านงานวิจัยของโซปรานเซ็ตติ


กองบรรณาธิการ
16 May 2022‘อย่าให้แหล่งเรียนรู้มีสถานะสูงกว่าคนใช้บริการ’ สร้างกรุงเทพฯ สู่มหานครแห่งการเรียนรู้ กับ โตมร ศุขปรีชา
101 คุยกับโตมร ศุขปรีชา ผู้อำนวยการสำนักยุทธศาสตร์ฯ OKMD ถึงโจทย์ของแหล่งเรียนรู้ในกรุงเทพฯ เพื่อสร้างจักรวาลความรู้ให้ตอบโจทย์กับคน


สุดารัตน์ พรมสีใหม่
11 May 2022อนุชิต เจริญศรีสมจิตร: 19 ปีแฟนพันธุ์แท้กรุงเทพฯ อะไรเปลี่ยนไปและอะไรยังคงเดิม
19 ปีให้หลังจากคว้าแชมป์รายการ ‘แฟนพันธุ์แท้ ตอน กรุงเทพมหานคร’ 101 ชวน อนุชิต เจริญศรีสมจิตร กลับมาพูดคุยเกี่ยวกับกรุงเทพฯ ที่เขารู้จักเป็นอย่างดีจนได้ชื่อว่าทะลุปรุโปร่งมากที่สุดในประเทศ ว่าสองทศวรรษที่ผ่านมานั้น เมืองหลวงแห่งนี้มีอะไรที่เปลี่ยนไป อะไรยังเหมือนเดิม และแฟนพันธุ์แท้อย่างเขามองการเลือกตั้งผู้ว่าฯ กรุงเทพฯ ที่จะมาถึงนี้ว่าอย่างไรบ้าง


พิมพ์ชนก พุกสุข
9 May 2022‘มอเตอร์ไซค์’ เส้นเลือดเลี้ยงชีวิตกรุงเทพฯ ที่ถูกมองข้าม: 3 ข้อเสนอนโยบายเพื่อผู้ขับขี่
101 PUB ชวนทำความเข้าใจความสำคัญของมอเตอร์ไซค์ต่อกรุงเทพฯ สำรวจปัญหาของผู้ขับขี่ และเสนอแนวนโยบายด้านโครงสร้างพื้นฐาน เพื่อส่งเสริมให้ผู้ขับขี่มีสิทธิบนท้องถนนเสมอหน้ากับผู้ใช้ถนนกลุ่มอื่นมากขึ้น


วรดร เลิศรัตน์
9 May 2022ความย้อนแย้งในสงครามรัสเซียบุกยูเครน
ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ ชวนมองประวัติศาสตร์การต่อสู้บนฐานทางอุดมการณ์ของรัสเซียในอดีต อันสะท้อนให้เห็นความย้อนแย้ง (paradox) ของสงครามรัสเซียบุกยูเครนเมื่อมองกลับมายังปัจจุบัน

