fbpx

Books

17 Feb 2020

โปรดอย่ากักขังตัวเองไว้ด้วยความรัก

วรพจน์ พันธุ์พงศ์ เขียนเล่าถึงเทศกาลบทกวี ‘น่านโปเอซี’ ที่เกิดขึ้นบนพื้นที่เล็กๆ ในตัวเมืองจังหวัดน่าน พร้อมเชื่อมโยงว่าสัมพันธ์กับ ‘นักสัมภาษณ์’ อย่างไร

วรพจน์ พันธุ์พงศ์

17 Feb 2020

Books

4 Feb 2020

ภาวะหลอน ประวัติศาสตร์ และความทรงจำใน ‘ชายใดเล่าจะแซ่บเท่าแฟนเก่าแม่’

อาทิตย์ ศรีจันทร์ เปิดโลกวัฒนธรรมประชานิยมและประวัติศาสตร์การเมืองไทย ผ่านนิยายวาย ‘ชายใดเล่าจะแซ่บเท่าแฟนเก่าแม่’ ผลงานจากนักเขียนซีไรต์ จิดานันท์ เหลืองเพียรสมุท ในชื่อ ร เรือในมหาสมุท

อาทิตย์ ศรีจันทร์

4 Feb 2020

Books

23 Jan 2020

วรรณกรรมเกาหลี: ช่องว่างระหว่างมีและซอล เราได้ยินอะไร? (1)

จักรกริช สังขมณี เขียนถึง “มี ในเมษายน ซอล ในกรกฎาคม” หนังสือรวมเรื่องสั้น ที่จะสะท้อนการเปลี่ยนแปลงสำคัญในหน้าประวัติศาสตร์เกาหลีใต้ร่วมสมัย ในตอนแรกว่ากันด้วยสามเรื่องสั้นที่จะพาสำรวจประเด็น การศึกษา ความหลากหลายทางเพศ และการเปลี่ยนแปลงของเมืองผ่านร้านสะดวกซื้อ

จักรกริช สังขมณี

23 Jan 2020

Life & Culture

20 Jan 2020

A New Sun Rises Over the Old Land : แสงและเงาจากยุคทองของกัมพูชา

แมท ช่างสุพรรณ ชวนพินิจเนื้อหาของ ‘A New Sun Rises Over the Old Land’ วรรณกรรมสมัยใหม่ของกัมพูชาซึ่งสะท้อนภาพสังคมแห่งความเหลื่อมล้ำก่อนยุคเขมรแดงและแฝงการวิพากษ์นโยบายสร้างชาติของเจ้านโรดม สีหนุไว้อย่างแยบคาย

แมท ช่างสุพรรณ

20 Jan 2020

Books

7 Jan 2020

ความน่าจะอ่าน : หนังสือชวนอ่านรับปี 2020 โดยคอลัมนิสต์ 101

ปี 2020 เริ่มต้นขึ้นแล้ว และแม้ช่วงวันหยุดกำลังจะสิ้นสุดลง แต่เรายังมีหนังสือดีๆ ที่อยากชวนให้ทุกคนได้อ่านกัน (หรืออย่างน้อยเก็บไว้ในลิสต์หนังสือที่ ‘น่าจะอ่าน’ ในปี 2020 ก็ยังดี)

เพราะนี่คือหนังสือที่เหล่า contributor ของ 101 รวมทั้งสิ้นกว่า 40 ชีวิต มาช่วยกันแนะนำ โดยเราให้แต่ละคนเลือกหนังสือ 1 เล่ม ที่คิดว่าเหมาะสำหรับวาระเปลี่ยนผ่านจากปี 2019 สู่ปี 2020 พร้อมเหตุผลสั้นๆ ว่าหนังสือเล่มนั้นน่าสนใจอย่างไร

กองบรรณาธิการ

7 Jan 2020

Books

7 Jan 2020

‘Tangerine เปล่า เปลือง เชื่อง ช้ำ’ กับทางหลายแพร่งของการเขียน

อาทิตย์ ศรีจันทร์ เขียนวิจารณ์วิธีเล่าเรื่อง ‘เซ็กซ์’ ในรวมเรื่องสั้น ‘Tangerine เปล่า เปลือง เชื่อง ช้ำ’ วรรณกรรมว่าด้วยความสัมพันธ์ซับซ้อนของชายรักชายโดย กวีวัธน์

อาทิตย์ ศรีจันทร์

7 Jan 2020

Books

31 Dec 2019

สื่อ-ศิลป์ 2019 : ปีแห่งการช่วงชิงพื้นที่และเสรีภาพ

พันธวัฒน์ เศรษฐวิไล ประมวลภาพรวมแวดวงสื่อมวลชน-ศิลปวัฒนธรรม ผ่านผลงานของ 101 ในปี 2019 – ปีแห่งการช่วงชิงพื้นที่และเสรีภาพ

พันธวัฒน์ เศรษฐวิไล

31 Dec 2019

Books

26 Dec 2019

ใครคือคิมจียอง?

จักรกริช สังขมณี เขียนถึงความเป็น ‘คิมจียอง’ ในสังคม ผ่านการไล่เรียงประวัติศาสตร์ของเกาหลี จนทำให้เกิดสังคมที่บีบคั้นให้ทุกคนต้องทำหน้าที่ตามเพศสถานะของตน ซึ่งไม่ได้เกิดเฉพาะกับผู้หญิงเท่านั้น

จักรกริช สังขมณี

26 Dec 2019

Education

25 Nov 2019

“สิ่งที่สร้างความแตกต่างในชีวิตของเด็กไม่ใช่ของเล่นในบ้าน แต่เป็นคำศัพท์ในหัวสมองของพวกเขา”

ปาณิส โพธิ์ศรีวังชัย เขียนถึงประโยชน์ของการอ่านออกเสียงให้ลูกฟัง และการสมดุลระหว่างหนังสือกับสื่ออิเล็กทรอนิกส์

ปาณิส โพธิ์ศรีวังชัย

25 Nov 2019

Books

21 Nov 2019

‘แผนขจัดความโง่ของประชาชน’ กับ ความงุนงงของวรรณกรรมสะท้อนสังคมของไทย

อาทิตย์ ศรีจันทร์ วิจารณ์รวมเรื่องสั้น ‘แผนขจัดความโง่ของประชาชน’ ของไพฑูรย์ ธัญญา วรรณกรรมที่ว่าด้วยความเป็นสมัยใหม่ของสังคมไทย ที่มีเทคโนโลยีเป็นส่วนสำคัญ

อาทิตย์ ศรีจันทร์

21 Nov 2019

Thai Politics

15 Nov 2019

อ่านหนังสือเจ้าสัว

ศุภมิตร ปิติพัฒน์อ่านหนังสือ ‘ความสำเร็จดีใจได้วันเดียว’ ของธนินท์ เจียรวนนท์ และชวนให้คิดถึงแนวคิดเชิงทฤษฎีอันหลายหลากและฉากต่อไปของทุนนิยม(ไทย)

ศุภมิตร ปิติพัฒน์

15 Nov 2019

Life & Culture

13 Nov 2019

ผ่านมาแล้วสี่สิบปี… London Review of Books: An Incomplete History

แมท ช่างสุพรรณ เขียนถึง ‘London Review of Books: An Incomplete History’ หนังสือฉบับพิเศษที่ตีพิมพ์ออกมาในวาระครบรอบ 40 ปี London Review of Books ที่เป็นเสมือน ‘เบื้องหลังการถ่ายทำ’ ที่ฉายให้เห็นประวัติศาสตร์ของนิตยสารระดับตำนาน (ที่ยังมีลมหายใจ) ของสหราชอาณาจักร

แมท ช่างสุพรรณ

13 Nov 2019

Books

7 Nov 2019

มหากาพย์แห่งการขอลิขสิทธิ์ และชีวิตใหม่ของ ‘หนึ่งร้อยปีแห่งความโดดเดี่ยว’

พันธวัฒน์ เศรษฐวิไล เขียนถึงชีวิตใหม่ของนวนิยาย ‘หนึ่งร้อยปีแห่งความโดดเดี่ยว’ ฉบับแปลภาษาไทยโดยสำนักพิมพ์บทจร พร้อมมหากาพย์แห่งการขอลิขสิทธิ์ที่ยืดเยื้อเป็นสิบปี

พันธวัฒน์ เศรษฐวิไล

7 Nov 2019

Thai Politics

29 Oct 2019

คนเหล็ก 2019

ธิติ มีแต้ม เล่าให้ลูกฟังในคอลัมน์ ‘เมื่อเวลามาถึง’ ถึงหนังสือ 1 เล่ม และเพลง 1 อัลบั้ม ที่เป็นบันทึกแห่งยุคสมัยและเป็นบันทึกประวัติศาสตร์ของคนหัวใจแกร่ง

ธิติ มีแต้ม

29 Oct 2019
1 19 20 21 29

MOST READ

Life & Culture

24 Apr 2024

“ผมเขียนเรื่องคนธรรมดา เพื่อคนธรรมดา” ชีวิตที่ไม่ ‘เอ๊าะเยาะแอ๊ะแยะ’ ของเอ๊าะ หนูหิ่น

101 คุยว่าด้วยชีวิตและความคิดการทำงานกับ ‘เอ๊าะ หนูหิ่น’ นักเขียนการ์ตูนผู้สร้างปรากฏการณ์หนังสือขายดี และกลายเป็นตัวละครอันโด่งดังของการ์ตูนไทย

ปาณิส โพธิ์ศรีวังชัย

24 Apr 2024

Life & Culture

27 Mar 2024

ความทุกข์ของยุคสมัยใน ‘แมลงสาบในเมืองสลด’

อาทิตย์ ศรีจันทร์ เขียนถึง ‘แมลงสาบในเมืองสลด’ งานวรรณกรรมของ อ้อมแก้ว กัลยาณพงศ์ ว่าด้วยชายคนหนึ่งที่กลายเป็นแมลงสาบ ซึ่งชวนให้นึกไปถึง The metamorphosis งานชิ้นเอกของ ฟรันซ์ คาฟคา ที่เล่าถึงชายที่กลายเป็นแมลงเหมือนกัน… หากแต่การกลายเป็นแมลงของทั้งสองเรื่องนั้นให้ความหมายแตกต่างกันโดยสิ้นเชิง โดยเฉพาะเมื่อพินิจจากบรรยากาศของยุคสมัย

อาทิตย์ ศรีจันทร์

27 Mar 2024

Books

17 Apr 2024

ดราก้อนบอล ลิขสิทธิ์ และหัวนมโกฮัง: ประวัติศาสตร์ระยะใกล้ กับป๊อบคัลเจอร์ในสังคมไทย

ภิญญพันธุ์ พจนะลาวัณย์ ชวนย้อนมองมังงะ ‘ดราก้อนบอล’ ในฐานะวัฒนธรรมป๊อบและสินค้า หาคำตอบว่าดราก้อนบอลมีที่ทางอย่างไรในโลกของนักอ่านชาวไทย และเราจะอ่านดราก้อนบอลให้เห็นการเปลี่ยนแปลงของสังคมไทยได้อย่างไร

ภิญญพันธุ์ พจนะลาวัณย์

17 Apr 2024

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save