fbpx

Life & Culture

27 Mar 2024

ความทุกข์ของยุคสมัยใน ‘แมลงสาบในเมืองสลด’

อาทิตย์ ศรีจันทร์ เขียนถึง ‘แมลงสาบในเมืองสลด’ งานวรรณกรรมของ อ้อมแก้ว กัลยาณพงศ์ ว่าด้วยชายคนหนึ่งที่กลายเป็นแมลงสาบ ซึ่งชวนให้นึกไปถึง The metamorphosis งานชิ้นเอกของ ฟรันซ์ คาฟคา ที่เล่าถึงชายที่กลายเป็นแมลงเหมือนกัน… หากแต่การกลายเป็นแมลงของทั้งสองเรื่องนั้นให้ความหมายแตกต่างกันโดยสิ้นเชิง โดยเฉพาะเมื่อพินิจจากบรรยากาศของยุคสมัย

อาทิตย์ ศรีจันทร์

27 Mar 2024

Life & Culture

26 Mar 2024

ฆ่าความไร้เดียงสา To Kill a Mockingbird (ผู้บริสุทธิ์)

‘นรา’ เขียนถึงนิยาย To Kill a Mockingbird หรือ ‘ผู้บริสุทธิ์’ ผลงานชิ้นเยี่ยมของฮาร์เปอร์ ลี ที่ได้รางวัลพูลิตเซอร์และดัดแปลงเป็นภาพยนตร์ได้อย่างซาบซึ้งตรึงใจ

นรา

26 Mar 2024

Life & Culture

14 Mar 2024

หนังสือสามก๊ก ยุค ‘คนะราสดร’

นริศ จรัสจรรยาวงศ์ เขียนถึงประวัติศาสตร์ของวรรณคดีจีน ‘สามก๊ก’ ในบรรณพิภพไทย นับตั้งแต่ยุคสมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์ ปฏิวัติ 2475 ถึงยุคปฏิวัติภาษาไทยโดย จอมพล ป. พิบูลสงคราม

นริศ จรัสจรรยาวงศ์

14 Mar 2024

Books

13 Mar 2024

150 ปี ‘ดรุโณวาท’ : สิ่งพิมพ์ของยุวชนชั้นนำและคำสอนของคนหนุ่มสยาม ในยุคแสวงหาอำนาจแบบอาณานิคม

ภิญญพันธุ์ พจนะลาวัณย์ เขียนถึง ‘ดรุโณวาท’ หนังสือพิมพ์ที่พิมพ์โดยคนไทยฉบับแรก ซึ่งทำหน้าที่เป็นกระบอกเสียงของเหล่าสยามหนุ่มในช่วงหัวเลี้ยวหัวต่อทางอำนาจของรัชกาลที่ 5

ภิญญพันธุ์ พจนะลาวัณย์

13 Mar 2024

Life & Culture

28 Feb 2024

ระเบียบของกระแสสำนึกใน ‘พัทยาและมาหยา’

อาทิตย์ ศรีจันทร์ เขียนถึง ‘พัทยาและมาหยา’ นวนิยายกระแสสำนึกของ ลาดิด (Ladys) ที่แม้จะพูดเรื่องความเว้าแหว่ง ไม่สมบูรณ์ของความทรงจำและความสัมพันธ์อันเป็นเรื่องยอดนิยมในงานวรรณกรรมไทย แต่สิ่งที่ทำให้ ‘พัทยาและมาหยา’ โดดเด่นสำหรับอาทิตย์คือการเลือกใช้เครื่องมือการเล่าเรื่องอันหลากหลายและชวนจับตา

อาทิตย์ ศรีจันทร์

28 Feb 2024

Life & Culture

27 Feb 2024

ทั้งรักทั้งชังทั้งหวานและขมขื่น Paddy Clark Ha Ha Ha

‘นรา’ เล่าถึงนวนิยาย ‘Paddy Clark Ha Ha Ha’ แพดดี้ คลาร์ก ฮา ฮา ฮา ของร็อดดี ดอยล์ ซึ่งสะท้อนชีวิตและการ coming of age ของเด็กชายแพดดี้ได้เสมือนพาผู้อ่านเข้าไปนั่งในใจตัวละคร

นรา

27 Feb 2024

Life & Culture

21 Feb 2024

กษัตริย์และกงสุล ในช่วงสนธิสัญญาเบาว์ริง: การเมืองเรื่องต่างชาติถือครองที่ดิน และมรณกรรมของอาลักษณ์ชาวสยาม

อ่านประวัติศาสตร์เรื่องการถือครองที่ดินของชาวต่างชาติในสยาม และการทูตไทย-อังกฤษผ่านหนังสือ ‘กษัตริย์และกงสุล ในช่วงสนธิสัญญาเบาว์ริง’

ปาณิส โพธิ์ศรีวังชัย

21 Feb 2024

Books

13 Feb 2024

30 ปี ‘โทษฐานที่รู้จักกัน’ : ความขำขันบนความหงุดหงิดจากหนังสือ สู่ราชันย์เดี่ยวไมโครโฟน

ภิญญพันธุ์ พจนะลาวัณย์ เขียนถึง ‘โทษฐานที่รู้จักกัน’ ผลงานเขียนชิ้นแรกของ โน้ต-อุดม แต้พานิช ซึ่งเป็นงานเขียนสไตล์จิกกัดที่สะท้อนยุคสมัยแห่งความน่ารำคาญของชนชั้นกลางไทยในทศวรรษ 2530

ภิญญพันธุ์ พจนะลาวัณย์

13 Feb 2024

Thai Politics

12 Feb 2024

คำถามสุดท้ายของคัทลิน: ชีวิตของความชรา บ้าน และความทรงจำ

อาทิตย์ ศรีจันทร์ เขียนถึง ‘คำถามสุดท้ายของคัทลิน’ รวมเรื่องสั้นของ สุกัญญา หาญตระกูล นักวิจารณ์วรรณกรรมชื่อดังในช่วงทศวรรษ 2520 โดยเฉพาะงานวรรณกรรมสกุลเพื่อชีวิต โดยงานรวมเรื่องสั้นที่มีอายุร่วมสี่ทศวรรษของสุกัญญาเรื่องนี้ ยังทรงพลังทั้งในแง่การเลือกใช้ถ้อยคำ, โครงสร้างของเรื่อง และประเด็นอันร่วมสมัยซึ่งว่าด้วยการอพยพย้ายถิ่น

อาทิตย์ ศรีจันทร์

12 Feb 2024

Politics

6 Feb 2024

สู่การเมืองแห่งความไม่สมควร : ทางออกของประชาธิปไตยที่ยังไม่มีความเสมอภาคอันแท้จริง

อรรถสิทธิ์ สิทธิดำรง เขียนถึงหนังสือของ มาร์ก เดเวนนี่ย์ ‘Towards an Improper Politics – สู่การเมืองแห่งความไม่สมควร’ ว่าด้วยการพัฒนาประชาธิปไตยให้เกิดความเสมอภาคทางเศรษฐกิจ ด้วยแนวคิด ‘การเมืองแห่งความไม่สมควร’

อรรถสิทธิ์ สิทธิดำรง

6 Feb 2024

Life & Culture

18 Jan 2024

“กดขี่ไพร่กว่าจะถึงซึ่งนิพพาน”: การเดินทางของนิราศหนองคาย ผลงานของทิม สุขยางค์ ในรอบร้อยปี

ภิญญพันธุ์ พจนะลาวัณย์ เขียนถึง ‘นิราศหนองคาย’ แต่งโดยหลวงพัฒนพงศ์ภักดี (ทิม สุขยางค์) ในคราวที่ชนชั้นนำสยามยกทัพไปปราบฮ่อเมื่อ พ.ศ. 2418 เนื้อหาที่วิพากษ์วิจารณ์การกดขี่ไพร่และทหารชั้นผู้น้อยอย่างถึงพริกถึงขิง ทำให้นิราศหนองคายกลายเป็นหนังสือต้องห้ามคลาสสิกเล่มหนึ่งในหน้าประวัติศาสตร์ไทย

ภิญญพันธุ์ พจนะลาวัณย์

18 Jan 2024

พิสูจน์-อักษร

28 Dec 2023

…ต่างเป็นโลกทั้งใบของกันและกัน The Road (ถนนสายอำมหิต)

‘นรา’ เขียนถึง The Road ‘ถนนสายอำมหิต’ ของคอร์แม็ค แม็คคาร์ธี กับเรื่องราวการเดินทางของสองพ่อลูกในยุคสมัยหลังโลกล่มสลายและปราศจากความหวัง

นรา

28 Dec 2023

ความน่าจะอ่าน

27 Dec 2023

ความน่าจะอ่าน : หนังสือชวนอ่านรับปี 2024 โดยคอลัมนิสต์ 101

101 ชวนคอลัมนิสต์กว่า 30 คน ร่วมแนะนำหนังสือคนละเล่มแก่คุณผู้อ่าน ต้อนรับปี 2024 มีอะไรบ้าง ไปดูกันได้เลย !

กองบรรณาธิการ

27 Dec 2023

Life & Culture

26 Dec 2023

การเดินทางของวรรณกรรมไทยสมัยใหม่และกลวิธีอันน่าสนใจใน หนึ่งนับวันนิรันดร

อาทิตย์ ศรีจันทร์ เขียนถึง ‘หนึ่งนับวันนิรันดร’ งานวรรณกรรมลำดับล่าสุดของ กิตติศักดิ์ คงคา ผู้หยิบเอาชื่องานวรรณกรรมร่วมสมัยและนัยยะที่มันมีต่อสังคม มาร้อยเรียงเป็นงานเรื่องใหม่ได้อย่างน่าตื่นตา

อาทิตย์ ศรีจันทร์

26 Dec 2023
1 2 29

MOST READ

Life & Culture

26 Mar 2024

ฆ่าความไร้เดียงสา To Kill a Mockingbird (ผู้บริสุทธิ์)

‘นรา’ เขียนถึงนิยาย To Kill a Mockingbird หรือ ‘ผู้บริสุทธิ์’ ผลงานชิ้นเยี่ยมของฮาร์เปอร์ ลี ที่ได้รางวัลพูลิตเซอร์และดัดแปลงเป็นภาพยนตร์ได้อย่างซาบซึ้งตรึงใจ

นรา

26 Mar 2024

Life & Culture

27 Mar 2024

ความทุกข์ของยุคสมัยใน ‘แมลงสาบในเมืองสลด’

อาทิตย์ ศรีจันทร์ เขียนถึง ‘แมลงสาบในเมืองสลด’ งานวรรณกรรมของ อ้อมแก้ว กัลยาณพงศ์ ว่าด้วยชายคนหนึ่งที่กลายเป็นแมลงสาบ ซึ่งชวนให้นึกไปถึง The metamorphosis งานชิ้นเอกของ ฟรันซ์ คาฟคา ที่เล่าถึงชายที่กลายเป็นแมลงเหมือนกัน… หากแต่การกลายเป็นแมลงของทั้งสองเรื่องนั้นให้ความหมายแตกต่างกันโดยสิ้นเชิง โดยเฉพาะเมื่อพินิจจากบรรยากาศของยุคสมัย

อาทิตย์ ศรีจันทร์

27 Mar 2024

Books

17 Apr 2024

ดราก้อนบอล ลิขสิทธิ์ และหัวนมโกฮัง: ประวัติศาสตร์ระยะใกล้ กับป๊อบคัลเจอร์ในสังคมไทย

ภิญญพันธุ์ พจนะลาวัณย์ ชวนย้อนมองมังงะ ‘ดราก้อนบอล’ ในฐานะวัฒนธรรมป๊อบและสินค้า หาคำตอบว่าดราก้อนบอลมีที่ทางอย่างไรในโลกของนักอ่านชาวไทย และเราจะอ่านดราก้อนบอลให้เห็นการเปลี่ยนแปลงของสังคมไทยได้อย่างไร

ภิญญพันธุ์ พจนะลาวัณย์

17 Apr 2024

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save