fbpx

Books

28 Oct 2019

เพศและความเป็นอื่น : ประวัติศาสตร์หน้าใหม่ใน ‘Booker Prize 2019’

สุนันทา วรรณสินธ์ เบล เขียนถึงการประกาศรางวัล Booker Prize 2019 เมื่อช่วงกลางเดือนตุลาคมที่ผ่านมา นับเป็นประวัติศาสตร์หน้าใหม่ที่มีคนได้รางวัลถึงสองคน เป็นผู้หญิงล้วน และหนึ่งในนั้นคือนักเขียนผิวสี

สุนันทา วรรณสินธ์ เบล

28 Oct 2019

Books

18 Oct 2019

หลุมดำแห่งความทรงจำสีส้มของกวีวัธน์ : ผู้เขียน ‘Tangerine’ 13 เรื่องรักใคร่ ที่มีใครเป็นส่วนเกินเสมอ

เก็บความจากสัมภาษณ์ ‘กวีวัธน์’ ในงานเปิดตัวหนังสือ ‘Tangerine เปล่า เปลือง เชื่อง ช้ำ’ ว่าด้วยภาวะของความเป็นเด็ก และความผิดพลาดจากความไร้เดียงสา

ปาณิส โพธิ์ศรีวังชัย

18 Oct 2019

Books

3 Oct 2019

In Conversation with Margaret Atwood

สุนันทา วรรณสินธ์ เบล เก็บบรรยากาศและเนื้อหาจากงานเปิดตัวหนังสือ ‘The Testaments’ ผลงานล่าสุดของ Margaret Atwood ที่กรุงลอนดอน เมื่อเดือนกันยายนที่ผ่านมา

สุนันทา วรรณสินธ์ เบล

3 Oct 2019

Books

2 Oct 2019

โชนรังสี เฉลิมชัยกิจ กับภารกิจ ‘Bring content to life’ ในมหกรรมหนังสือระดับชาติ ครั้งที่ 24

101 คุยกับโชนรังสี เฉลิมชัยกิจ นายกสมาคมผู้จัดพิมพ์และผู้จำหน่ายหนังสือแห่งประเทศไทย ว่าด้วยงานมหกรรมหนังสือครั้งล่าสุด ที่ยกขบวนจาก ‘ศูนย์สิริกิติ์’ ไป ‘อิมแพค’

พันธวัฒน์ เศรษฐวิไล

2 Oct 2019

Happy Family

1 Oct 2019

กาลครั้งหนึ่ง เมื่อการอ่านในสายตาเด็กเล็ก ไม่ใช่แค่การสะกดคำ

101 สนทนากับ กรองทอง บุญประคอง ผู้ก่อตั้งโรงเรียนจิตตเมตต์ (ปฐมวัย) และ สุดใจ พรหมเกิด ผู้อำนวยการโครงการหนังสือ ‘ฝึกอ่าน’ ตามระดับ ชุด ‘อ่าน อาน อ๊าน’ ว่าด้วยหนังสือเด็ก และการอ่านสำหรับเด็กปฐมวัย

ศุภาวรรณ คงสุวรรณ์

1 Oct 2019

Books

24 Sep 2019

อ่านใจนักวิจารณ์วรรณกรรม กับ สุธิดา วิมุตติโกศล

101 จับประเด็นบางส่วนจากการพูดคุยกับ สุธิดา วิมุตติโกศล ภาควิชาประวัติศาสตร์ ปรัชญา และวรรณคดีอังกฤษ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ถึงสถานการณ์ด้านการอ่าน-การวิจารณ์ในสังคมไทย

กองบรรณาธิการ

24 Sep 2019

Happy Family

24 Sep 2019

หนังสือเลี้ยงลูกแบบนาฬิกาทราย : คุยกับ ทราย – สุภลักษณ์ อันตนนา SandClock Books

ปาณิส โพธิ์ศรีวังชัย คุยกับ สุภลักษณ์ อันตนนา SandClock Books เจ้าของสำนักพิมพ์ที่ทำหนังสือเลี้ยงลูกได้น่ารัก และโดนใจคุณพ่อคุณแม่มือใหม่ด้วยประเด็นที่แหลมคมแปลกใหม่

ปาณิส โพธิ์ศรีวังชัย

24 Sep 2019

Books

18 Sep 2019

การเติบโตของ ‘Jirabell’ และความท้าทายใหม่ในฐานะบรรณาธิการบริหาร ‘a day’

พันธวัฒน์ เศรษฐวิไล คุยกับ ‘Jirabell’ หรือ จิรเดช โอภาสพันธวงศ์ บรรณาธิการบริหาร a day คนล่าสุด ว่าด้วยการเติบโตบนเส้นทางนักเขียน-สื่อมวลชน และทิศทางของ ‘a day’ ยุคใหม่ที่ไม่ได้เป็นแค่นิตยสาร

พันธวัฒน์ เศรษฐวิไล

18 Sep 2019

Books

18 Sep 2019

กัญชาสนทนา กับ ‘เล็กฮิป’ พันธุ์หมาบ้า

คุยกับ วิสูจน์ ศรีสัจจะลักษณ์ หรือ “เล็กฮิป” ตัวละครใน ‘พันธุ์หมาบ้า’ ผู้ผ่านยุคสมัยบุปผาชนและคลุกคลีกับกัญชามาอย่างลึกซึ้ง

กองบรรณาธิการ

18 Sep 2019

Books

4 Sep 2019

“เราทุกคนเป็นนักออกแบบชีวิตของตนเอง” – บิล เบอร์เนตต์ ผู้เขียนหนังสือ Designing Your Life

กานต์ธีรา ภูริวิกรัย เก็บความจากห้องเรียนวิชา ‘Designing your life’ ของ บิล เบอร์เนตต์ นักออกแบบและผู้เขียนหนังสือ ‘คู่มือออกแบบชีวิตด้วย Design Thinking’ ในวาระที่เขาเดินทางมาบรรยายที่ประเทศไทย

กานต์ธีรา ภูริวิกรัย

4 Sep 2019

Books

2 Sep 2019

An Evening with Salman Rushdie

สุนันทา วรรณสินธ์ เบล บอกเล่าบรรยากาศในงานเปิดตัวหนังสือ ‘Quichotte’ ผลงานเล่มล่าสุดของซัลมาน รัชดี จัดขึ้นที่กรุงลอนดอน เมื่อปลายเดือนสิงหาคมที่ผ่านมา พร้อมเก็บความจากการเสวนามาเล่าสู่กันฟัง

สุนันทา วรรณสินธ์ เบล

2 Sep 2019

Books

30 Jul 2019

Crossroads Melayu กับกวีหนุ่ม ‘ซะการีย์ยา อมตยา’

ธิติ มีแต้ม สนทนากับ ซะการีย์ยา อมตยา กวีหนุ่มจากเทือกเขาบูโด ในบทบาทบรรณาธิการวารสาร The Melayu Review ที่กำลังเปิดพรมแดนความเป็นมลายูร่วมสมัย

ธิติ มีแต้ม

30 Jul 2019

Thai Politics

10 Jul 2019

‘Intelligenzia’ การเกิดใหม่ของวารสารของนักศึกษา โดยนักศึกษา เพื่อประชาชน

101 คุยกับ ป็อป—‘สุรัตน์ สกุลคู’ บรรณาธิการนิตยสาร ‘Intelligenzia วารสารที่เรียกได้ว่าเป็นของนักศึกษา โดยนักศึกษา เพื่อประชาชน ว่าด้วยการสร้างเนื้อหาวิพากษ์วิจารณ์ สะท้อนสังคมอย่างตรงไปตรงมา และประสบการณ์การสื่อสารผ่าน ‘วารสาร’ ในสังคมที่ปิดกั้น

กองบรรณาธิการ

10 Jul 2019

Books

10 Jul 2019

ความน่าจะอ่าน 2018-2019 : Final Round งานเสวนาส่งท้าย จนกว่าจะพบกันอีกครั้ง

101 สรุปความจากเสวนา ความน่าจะอ่าน 2018-2019 : Final Round เจาะลิสต์หนังสือแห่งปี และถกกันถึงอนาคตแวดวงนักอ่านนักเขียนไทย

ศุภาวรรณ คงสุวรรณ์

10 Jul 2019

Books

8 Jul 2019

อ่าน Upheaval : จุดพลิกประเทศยามวิกฤต บทเรียนจากชิลีถึงไทย

ภูมิศรัณย์ ทองเลี่ยมนาค ถอดบทเรียนจากหนังสือ ‘Upheaval: Turning Points for Nations in Crisis’ ว่าด้วยจุดเปลี่ยนของประเทศต่างๆ ในยามวิกฤต โดยยกกรณีของชิลีในยุคนายพลปิโนเช่ต์ ซึ่งมีวิถีสืบทอดอำนาจที่คล้ายคลึงสถานการณ์ของไทยในปัจจุบัน

ภูมิศรัณย์ ทองเลี่ยมนาค

8 Jul 2019
1 20 21 22 29

MOST READ

Life & Culture

27 Mar 2024

ความทุกข์ของยุคสมัยใน ‘แมลงสาบในเมืองสลด’

อาทิตย์ ศรีจันทร์ เขียนถึง ‘แมลงสาบในเมืองสลด’ งานวรรณกรรมของ อ้อมแก้ว กัลยาณพงศ์ ว่าด้วยชายคนหนึ่งที่กลายเป็นแมลงสาบ ซึ่งชวนให้นึกไปถึง The metamorphosis งานชิ้นเอกของ ฟรันซ์ คาฟคา ที่เล่าถึงชายที่กลายเป็นแมลงเหมือนกัน… หากแต่การกลายเป็นแมลงของทั้งสองเรื่องนั้นให้ความหมายแตกต่างกันโดยสิ้นเชิง โดยเฉพาะเมื่อพินิจจากบรรยากาศของยุคสมัย

อาทิตย์ ศรีจันทร์

27 Mar 2024

Books

17 Apr 2024

ดราก้อนบอล ลิขสิทธิ์ และหัวนมโกฮัง: ประวัติศาสตร์ระยะใกล้ กับป๊อบคัลเจอร์ในสังคมไทย

ภิญญพันธุ์ พจนะลาวัณย์ ชวนย้อนมองมังงะ ‘ดราก้อนบอล’ ในฐานะวัฒนธรรมป๊อบและสินค้า หาคำตอบว่าดราก้อนบอลมีที่ทางอย่างไรในโลกของนักอ่านชาวไทย และเราจะอ่านดราก้อนบอลให้เห็นการเปลี่ยนแปลงของสังคมไทยได้อย่างไร

ภิญญพันธุ์ พจนะลาวัณย์

17 Apr 2024

Books

23 Apr 2024

ซินเดอเรลลา-ทวาทศมาส Like Water for Chocolate (ขมเป็นน้ำตาล หวานเป็นน้ำตา)

‘นรา’ แนะนำนิยายชิงรักหักสวาทแต่คลาสสิกขึ้นหิ้งของแวดวงวรรณกรรมละตินอเมริกัน Like Water for Chocolate – ขมเป็นน้ำตาล หวานเป็นน้ำตา ของเลารา เอสกิเวล

นรา

23 Apr 2024

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save