หลักหมุดคณะราษฎร: ประเทศไทยภายใต้ระบอบปกครองประชาธิปไตย
อายุษ ประทีป ณ ถลาง เขียนถึงปริศนาหลักหมุดคณะราษฎรที่อันตรธานสูญหายไปอย่างพิสดารพันลึก ในบ้านเมืองเต็มไปด้วยเรื่องราวเหนือเหตุผล และอยู่กันด้วยอภินิหารของกฎหมาย!

อ่านการเมืองไทยและเทศผ่านเหตุการณ์-ตัวละครสำคัญทางการเมือง และประเด็นเชิงกฎหมายที่ส่งผลต่อภูมิทัศน์การเมือง
อายุษ ประทีป ณ ถลาง เขียนถึงปริศนาหลักหมุดคณะราษฎรที่อันตรธานสูญหายไปอย่างพิสดารพันลึก ในบ้านเมืองเต็มไปด้วยเรื่องราวเหนือเหตุผล และอยู่กันด้วยอภินิหารของกฎหมาย!
สมชาย ปรีชาศิลปกุล ชวนคิดเรื่องใหญ่ในระบบกฎหมายไทย เมื่อช่องว่างระหว่าง “โลกของกฎหมายในหนังสือ” กับ “ปฏิบัติการของกฎหมายในชีวิตจริง” ถ่างกว้างเป็นรูโหว่ขนาดใหญ่ จนทำให้การใช้กฎหมายของสามัญชนในโลกจริงมีอยู่น้อยมากเมื่อเปรียบเทียบกับความขัดแย้งที่เกิดขึ้น และทำให้ “กระบวนการยุติธรรม” ส่งผลตรงกันข้าม กลายเป็น “กระบวนการอยุติธรรม”
อะไรคือสาเหตุของการตกเป็นเหยื่อในกระบวนการยุติธรรม?
101 ชวน ธนาวิ โชติประดิษฐ มานั่งคุยเรื่องศิลปะร่วมสมัยกับการเมืองไทย พร้อมวิเคราะห์-วิพากษ์เรื่องหมุดเจ้าปัญหา
ชื่อของ เจนวิทย์ เชื้อสาวะถี อาจคุ้นหูและตาของเราในฐานะผู้ดำเนินรายการในงานเสวนาวิชาการยุคหลังๆ แต่เรื่องราวบนเวทีที่เขาขึ้นไปยืนอยู่มีอะไรมากกว่านั้น – ‘อะไร’ ที่ประกอบสร้างชายคนนี้ขึ้นมาจนเป็นอย่างทุกวันนี้
จากการวิสามัญฆาตกรรมนายชัยภูมิ ป่าแส ถึงการขุดเปลี่ยนหมุดคณะราษฎรเป็นหมุดหน้าใส
กล้องวงจรปิด หรือ cctv กลายเป็นอุปกรณ์ที่ได้รับการกล่าวขวัญอย่างแพร่หลายที่สุด
จากอุปกรณ์เพื่อการค้นหาความจริงกลายเป็นอุปกรณ์เพื่อปกปิดความจริง จากเครื่องมือวิทยาศาสตร์กลายเป็นเครื่องมือทางการเมือง
วันชัย ตันติวิทยาพิทักษ์ เขียนถึงการเมืองเรื่องกล้องวงจรปิด
ประจักษ์ ก้องกีรติ ย้อนอ่าน “ประชาธิปไตยครึ่งใบ” ผ่านผลงาน “ลิขิต ธีรเวคิน” ก่อนชวนคิดต่อว่า ระบอบการเมืองไทยยุคหลังรัฐธรรมนูญฉบับปี พ.ศ. 2560 คือการทวนเข็มนาฬิกากลับสู่ยุคประชาธิปไตยครึ่งใบในอดีต หรือถอยหลังไปไกลกว่านั้น!
หลังจากได้รับอิสรภาพ “อันวาร์” เล่าให้เราฟังว่าทหารมาขอจับมือด้วยรอยยิ้มและถามว่าเป็นมือยิงหรือมือวาง !
คงไม่ใช่เรื่องน่าสนุกนัก หากชีวิตคนหนุ่มคนหนึ่งในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ ทำหน้าที่สื่อมวลชนอิสระ และนักเคลื่อนไหวสันติภาพในบ้านเกิดตัวเอง กลับถูกคุมขังในคดีอั้งยี่ซ่องโจร เป็นแนวร่วมก่อการร้าย และได้รับการพ่วงเป็นแกนนำก่อจลาจลเผาคุกจากฝ่ายความมั่นคงในเวลาต่อมา
มีกุญแจหลายดอกที่ช่วยไขเหตุการณ์ความไม่สงบที่สามารถนำไปสู่ความเข้าใจอันเป็นพื้นฐานของสันติสุขได้ “อันวาร์” อาจเป็นกุญแจดอกหนึ่ง
“อันวาร์” คือใคร ชีวิตชายหนุ่มคนหนึ่งเป็นภาพสะท้อนของปัญหาสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ ความมั่นคง และกระบวนการยุติธรรมอย่างไร
“ธิติ มีแต้ม” ส่งมอบกุญแจให้อยู่ในมือคุณแล้ว เชิญไขได้ตามอัธยาศัย
เวียง-วชิระ บัวสนธ์ บรรณาธิการสำนักพิมพ์สามัญชน ประเดิมคอลัมน์ใหม่กับ 101 ด้วยการเล่านิทานเรื่อง ‘ไผ่ ดาวดิน’
“… ผมคิดว่าถึงเวลาแล้วที่เราควรปรับสภาพจิตให้สอดคล้องกับสภาพการณ์ตามความเป็นจริงให้ได้ว่า ทุกวันนี้ใครหรือผู้ใดควบคุมประเทศนี้อยู่ พูดให้ชัดขึ้นคงต้องเรียนว่า ความไม่ชอบมาพากลชนิดที่ยกหลักกฎหมายใดมาอธิบายก็ฟังไม่ขึ้นในกรณีของไผ่นี้ เราจำต้องปรับมุมมองใหม่ไม่ว่าจะชอบใจหรือไม่ ว่ามันอยู่นอกเหนือกระบวนการปกติชอบธรรมไปแล้วแน่ๆ …
“… ยิ่งเรานิ่งเฉยไม่มีปากไม่มีเสียงอะไรเอาเสียเลย ยิ่งเท่ากับสมเป้าปรารถนาที่บรรดาผู้ครองเมืองต่างต้องการ”
“เมื่อประชาชนอ่อนแอ สื่อมวลชนก็อ่อนล้า”
101 เลยชวน อายุษ ประทีป ณ ถลาง “นายประชา ช้ำชอก” กลับมาจับปากกา เขียนเรื่องแวดวงการเมือง สังคม และสื่อมวลชนไทยอีกครั้ง หลังจากก้าวออกจากวงการสื่อไปพักใหญ่
อดีตบรรณาธิการข่าวหนังสือพิมพ์แนวหน้า สยามโพสต์ และไทยโพสต์ ประเดิมคอลัมน์ตอนแรกด้วยการวิพากษ์แนวทางการปฏิรูปสื่อ ในยุคสมัยแห่งความเสื่อมถอยตกต่ำเป็นประวัติการณ์ของสื่อมวลชนไทย
ถ้าจ่านิวชวนอาจารย์ป๋วยถาม-ตอบเรื่องการเกณฑ์ทหาร ทั้งคู่จะคุยอะไรกัน!?
สมชาย ปรีชาศิลปกุล คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ลองเขียน “สมมติสนทนา” ระหว่างจ่านิวและอาจารย์ป๋วยเรื่องเสรีภาพในมโนธรรม การเกณฑ์ทหาร และการรับใช้ชาติ ให้อ่านกัน
ประมวลกฎหมายอาญาของไทยบังคับใช้มาตั้งแต่ปี 2499 ตั้งแต่สมัยพี่แดง ไบเล่ย์ และพี่ปุ๊ ระเบิดขวด ยังครองเมือง โดยแทบจะไม่มีการแก้ไขบทลงโทษตามสภาพเศรษฐกิจและสังคมที่เปลี่ยนไปเลย
ท่านทราบหรือไม่ว่า มูลค่าที่แท้จริงของค่าปรับจะค่อยๆ ลดลงเมื่อเวลาผ่านไป จาก 2,000 บาทเมื่อปี 2499 จะเหลือเพียง 200 บาทในปัจจุบันเท่านั้น!
เหตุใดจึงเป็นเช่นนั้น? แล้วเราจะทำอย่างไรให้โทษปรับยังทรงพลังได้คล้ายเดิมเมื่อเวลาผ่านไป?
อิสร์กุล อุณหเกตุ นักวิจัยด้านนิติเศรษฐศาสตร์ (ศาสตร์ที่เอากฎหมายและเศรษฐศาสตร์มาแต่งงานกัน!) มีข้อเสนอเรื่อง “ปรับ-ค่า-ปรับ” ให้ชวนคิดกันต่อในรายงานพิเศษชิ้นนี้
ใครๆ ก็รู้สึกว่าเศรษฐกิจไทยเต็มไปด้วยการผูกขาด ประสบการณ์ถูกเอาเปรียบในฐานะผู้บริโภคก็เคยโดนเข้ากับตัวกันทั้งนั้น แต่เชื่อหรือไม่ว่า ตั้งแต่กฎหมายแข่งขันทางการค้าถูกบังคับใช้ในปี 2542 ยังไม่เคยมีผู้ประกอบธุรกิจถูกลงโทษแม้แต่รายเดียว!
เมื่อปลายเดือนมีนาคม 2560 มีการแก้ไขกฎหมายแข่งขันทางการค้าให้มีเขี้ยวเล็บในการสร้างความเป็นธรรมในการแข่งขัน และลงมือจัดการผู้ผูกขาดที่ใช้อำนาจในทางที่ผิดได้มากขึ้น
กนกนัย ถาวรพานิช อาจารย์คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ผู้ร่ำเรียนเขียนอ่านด้านกฎหมายแข่งขันทางการค้ามาอย่างต่อเนื่อง ชวนสำรวจประเด็นสำคัญของกฎหมายฉบับใหม่ และตอบคำถามว่า ทำอย่างไรให้การปฏิรูปกฎหมายแข่งขันทางการค้าในครั้งนี้เป็นความหวังใหม่ของสังคมไทยได้อย่างแท้จริง
นีไม่ใช่งานวิจารณ์หนังสือ แต่เป็นแค่ ‘การกลับไปเยี่ยมบ้าน’ (Revisit) งานวรรณกรรมสมัยใหม่ที่เก่าแล้ว ของนักเขียนที่อื้อฉาวที่สุดคนหนึ่ง ผู้มีนามปากกว่า – คำ ผกา
คำ ผกา บอกว่า ไม่ได้ revisit จะให้เป็น ‘กระทู้ดอกทอง’ เพราะจะไม่โฟกัสไปที่ความเป็นหญิง หรือความเป็นชาย แต่แค่อยาก revisit โดยไม่มีเฟรมความคิดอะไรเลย แล้วไปเสี่ยงเอาข้างหน้าว่าจะเห็นอะไรจากการ revisit นี้
คุณอยากเห็น ‘การเสี่ยง’ ของเธอหรือเปล่าล่ะ!
ไทยแลนด์ 4.0 กลายเป็นกระแสสังคมที่ได้รับความนิยมสูงสุด พูดกันและอ้างอิงกันทุกวงการ โดยเฉพาะราชการไทย ช่วงนี้หน่วยงานใดจะเขียนโครงการอะไร ต้องมีติ่งหรือพ่วงคำว่าไทยแลนด์ 4.0 รับรองว่าโครงการผ่าน
วันชัย ตันติวิทยาพิทักษ์ ผู้อำนวยการอาวุโสส่วนงานข่าว พีพีทีวี อดีตบรรณาธิการนิตยสารสารคดี คอลัมนิสต์ประจำ 101 ชวนคิดชวนคุยถึงคำเท่ล่าสุดในสังคมไทย … ไทยแลนด์ 4.0
ธร ปีติดล กับ ชานนทร์ เตชะสุนทรวัฒน์ สองอาจารย์หนุ่มจากคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ คุยกับ สมคิด พุทธศรี กองบรรณาธิการ 101 เปิดงานวิจัยใหม่สด ไขปริศนา “ทำไมคนชั้นกลางระดับบนของไทยถึงหันหลังให้ประชาธิปไตย” ที่นี่ที่แรก!
ระบบ Recommend จะคัดสรรบทความและสื่อสร้างสรรค์ต่างๆ ที่คุณสนใจ มาให้คุณเลือกในหน้าโปรไฟล์ส่วนตัวของคุณ ให้คุณไม่พลาดทุกเนื้อหาที่คัดมาสำหรับคุณโดยเฉพาะ
คุณสามารถบันทึกบทความแบบ Read Later โดยคลิกที่ปุ่ม Bookmark Icon หรือจะเก็บบทความที่ชื่นชอบเป็นการส่วนตัวไว้ในหมวด Favorite โดยคลิกที่ปุ่ม Favorite Icon เพื่อกลับมาอ่านในภายหลัง
เพียงคุณลงชื่อเข้าใช้ ระบบจะจดจำตัวเลือกฟอนต์และธีมสีที่คุณเคยเลือก ให้คุณอ่านและรับชมทุกเนื้อหาอย่างเต็มที่ สบายตาและเพลิดเพลินใจในแบบที่เหมาะกับคุณ ไม่ว่าจะใช้งานบนคอมพิวเตอร์ แท็บเล็ต หรือสมาร์ตโฟน
เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า