มองหลายมุมกฎหมายทำแท้งฉบับใหม่
ปกป้อง ศรีสนิท ชวนมองประเด็นที่น่าสนใจในกฎหมายฉบับใหม่ที่รับรอง ‘การทำแท้งตามคำขอของผู้หญิง’ ขึ้นครั้งแรกในประวัติศาสตร์ประเทศไทย

ปกป้อง ศรีสนิท ชวนมองประเด็นที่น่าสนใจในกฎหมายฉบับใหม่ที่รับรอง ‘การทำแท้งตามคำขอของผู้หญิง’ ขึ้นครั้งแรกในประวัติศาสตร์ประเทศไทย
ปกป้อง ศรีสนิท ชวนทำความรู้จักสุดยอดของอาชญากรรม คือ ‘การล้างเผ่าพันธุ์มนุษย์’ อันหมายถึงการฆ่าหรือการกระทำอื่นๆ ที่ต้องการทำลายล้างกลุ่มคนบางกลุ่ม
ปกป้อง ศรีสนิท ชวนสำรวจทางออกกรณีคำสั่งไม่ฟ้องคดีอาญาผิดพลาดผ่านหลักการและแนวปฏิบัติในระบบกฎหมายฝรั่งเศส เยอรมนี และอังกฤษ
ปกป้อง ศรีสนิท เขียนถึง หลักผู้พิพากษาต้องสัมผัสพยาน ซึ่งถูกรับรองว่าเป็นส่วนหนึ่งของสิทธิมนุษยชน แต่เป็นสิ่งที่หายไปจากกระบวนการยุติธรรมไทย
ปกป้อง ศรีสนิท ชวนทำความรู้จัก ‘เคอร์ฟิว’ ที่ไทยเพิ่งประกาศใช้เพื่อรับมือ COVID-19
ปกป้อง ศรีสนิท ตอบคำถามว่า “ทำไมต้องคุ้มครองคนชั่วที่กระทำความผิด” จากหลักสันนิษฐานไว้ก่อนว่าบริสุทธิ์ อันเป็นสิทธิของปวงชนชาวไทยที่ระบุไว้ตามรัฐธรรมนูญ
ปกป้อง ศรีสนิท ชวนคิดเรื่องการติดกล้องให้เจ้าหน้าที่ตำรวจ งานวิจัยชี้การเพิ่มความโปร่งใสด้วยการติดกล้องลดโอกาสปฏิบัติมิชอบของเจ้าหน้าที่ตำรวจ และช่วยคุ้มครองการปฏิบัติหน้าที่อย่างสุจริตของเจ้าหน้าที่
ปกป้อง ศรีสนิท เขียนถึงกรณีฆาตกรต่อเนื่อง 6 ศพ ซึ่งสะท้อนให้เห็นปัญหาในกระบวนการปล่อยนักโทษก่อนกำหนด ทั้งโทษจำคุกตลอดชีวิต และโทษประหารชีวิต ซึ่งคนทั่วไปมักเข้าใจผิดว่านักโทษประเภทนี้ต้อง ‘แก่ตายในคุก’
ปกป้อง ศรีสนิท เขียนถึงการจัดทำและการเปิดเผย ‘ยี่ต๊อก’ ในคดีอาญา ซึ่งเปิดโอกาสให้ประชาชนมีส่วนร่วมได้ ขณะเดียวกันก็ไม่ได้ขัดกับหลักความเป็นอิสระของศาล ดังเช่นตัวอย่างที่เกิดขึ้นในอังกฤษ
ปกป้อง ศรีสนิท เขียนถึงการบังคับบุคคลให้สูญหาย (enforced disappearance) ไล่เรียงตั้งแต่กรอบกฎหมายในระดับสากล ช่องโหว่ของกฎหมายไทย พร้อมชี้แนวทางที่เป็นไปได้ ในการเอาผิดเจ้าหน้าที่รัฐมีส่วนเกี่ยวข้องกับการ ‘อุ้มหาย’
ปกป้อง ศรีสนิท เขียนถึงการการแก้ไขความผิดเกี่ยวกับเพศ ตามพ.ร.บ.แก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายอาญา (ฉบับที่ 27) พ.ศ. 2562 ตั้งแต่การยอมความในคดีข่มขืน การคุ้มครองเด็ก และการเพิ่มโทษคนที่แสวงหาผลประโยชน์จากโสเภณี
ปกป้อง ศรีสนิท เขียนถึงความหมายใหม่และโทษใหม่ของการข่มขืนกระทำชำเรา ซึ่งปรากฏในพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายอาญา (ฉบับที่ 27) พ.ศ. 2562 มีผลใช้บังคับเมื่อวันที่ 28 พฤษภาคม พ.ศ. 2562 ที่ผ่านมา
ปกป้อง ศรีสนิท เขียนถึงปัญหาของการมีกฎหมายอาญาที่ไม่จำเป็น พร้อมชี้ให้เห็นวิธีแก้ปัญหาอันลักลั่น ด้วยการออกกฎหมายที่ไม่จำเป็นเพิ่มมาอีกหนึ่งฉบับ
ท่ามกลางกระแสเรียกร้อง “ต้องไม่มีใครติดคุกเพราะจน” 101 ชวน ปกป้อง ศรีสนิท คณะนิติศาสตร์ ธรรมศาสตร์ เขียนเล่าเรื่องการปฏิรูปการปล่อยชั่วคราว ทั้งในเชิงสถานการณ์ หลักกฎหมาย ทางปฏิบัติ บทเรียนจากต่างประเทศ และแนวทางปฏิรูปเพื่อสร้างความเสมอภาคในไทย