สุดา พนมยงค์ : ความทรงจำเกี่ยวกับการอภิวัฒน์สยาม 2475
สุดา พนมยงค์ ประธานมูลนิธิปรีดี พนมยงค์ บุตรคนที่ 3 ของปรีดี พนมยงค์ คุยเรื่อง “คุณพ่อ”, ชีวิตครอบครัว และการอภิวัฒน์ 2475 กับ กษิดิศ อนันทนาธร

อ่านการเมืองไทยและเทศผ่านเหตุการณ์-ตัวละครสำคัญทางการเมือง และประเด็นเชิงกฎหมายที่ส่งผลต่อภูมิทัศน์การเมือง
สุดา พนมยงค์ ประธานมูลนิธิปรีดี พนมยงค์ บุตรคนที่ 3 ของปรีดี พนมยงค์ คุยเรื่อง “คุณพ่อ”, ชีวิตครอบครัว และการอภิวัฒน์ 2475 กับ กษิดิศ อนันทนาธร
ในสังคมที่ประวัติศาสตร์กลายเป็นเครื่องมือของการควบคุมกล่อมเกลาความคิดคนมากกว่าเป็นเครื่องมือของการเรียนรู้เพื่อให้เท่าทันอดีตของสังคมตนเอง ประจักษ์ ก้องกีรติ สำรวจตรวจสอบมายาคติ 4 ประการเกี่ยวกับ 2475 พร้อมนำเสนอประวัติศาสตร์ 2475 ฉบับโรงเรียนไม่ได้สอน
วันชัย ตันติวิทยาพิทักษ์ เปิดบันทึกประวัติศาสตร์ปากคำ เล่านาทีพลิกแผ่นดินสยาม ตั้งแต่เวลาย่ำรุ่ง วันที่ 24 มิถุนายน 2475 จุดเริ่มต้นของการลงมือก่อการ จนถึงวันที่ 27 มิถุนายน 2475 ซึ่งพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงลงพระปรมาภิไธยประกาศใช้พระราชบัญญัติธรรมนูญการปกครองแผ่นดินสยาม พ.ศ. 2475 พร้อมทรงพระอักษรกำกับต่อท้ายชื่อพระราชบัญญัตินั้นว่า “ชั่วคราว”
ธิติ มีแต้ม คุยกับคนธรรมดาสามัญที่เชื่อมตัวเองเข้ากับการอภิวัฒน์ 2475 ถ้าใช้หลักหกประการของคณะราษฎรมาจับ ชีวิตของพวกเขาในยุคนี้เป็นอย่างไร
กษิดิศ อนันทนาธร เล่าเรื่อง “ซิม วีระไวทยะ” หนึ่งในสมาชิกคณะราษฎร ผู้ใช้ชีวิตตามอุดมคติแห่งคณะราษฎร ทั้งในฐานะนักการเมือง นักการศึกษา นักกฎหมาย นักหนังสือพิมพ์ และนักธุรกิจ ไม่ว่าจะรับบทบาทใดก็ล้วนโลดแล่นอยู่ภายใต้หลักหกประการของคณะราษฎรทั้งสิ้น
เวียง-วชิระ บัวสนธ์ เขียนถึง กุหลาบ สายประดิษฐ์ หรือ ศรีบูรพา ‘สุภาพบุรุษ’ นักเขียนนักหนังสือพิมพ์ ซึ่งยึดมั่นหลักประชาธิปไตยเป็นโคมไฟส่องทางสังคม
“ช่วงที่ผ่านมา มีปัญหาภายในบอร์ดรัฐวิสาหกิจ ก็ได้มีการจัดให้ทหารเข้าไปนั่งสังเกตการณ์ ไม่ใช่ไปนั่งยกมือแสดงความคิดเห็น” พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา กล่าวชี้แจงเมื่อมีรายงานข่าวว่าหลังรัฐประหาร 2557 จำนวนทหารที่เข้าไปนั่งในบอร์ดรัฐวิสาหกิจเพิ่มขึ้นเท่าตัว โดยเป็นประธานบอร์ดเพิ่มขึ้นจาก 3 แห่ง เป็น 16 แห่ง
การสังเกตการณ์ของทหารมีราคาที่ต้องจ่าย “อิสร์กุล อุณหเกตุ” รายงานว่า ค่าตอบแทน เบี้ยประชุม และโบนัส ที่รัฐวิสาหกิจต้องจ่ายให้บอร์ดรัฐวิสาหกิจที่มีสินทรัพย์รวมสูงสุด 8 จาก 10 แห่ง ซึ่งมีบอร์ดเป็นทหาร โดยเฉลี่ยสูงถึง 1.5 ล้านบาทต่อตำแหน่งต่อปี
และนั่นเป็นเพียงแค่ปัญหาบนยอดภูเขาน้ำแข็งเพียงประการเดียวเท่านั้น อะไรเป็นปัญหาสำคัญทั้งบนยอดและข้างใต้ภูเขาน้ำแข็ง ติดตามอ่านต่อในรายงานพิเศษของ “อิสร์กุล อุณหเกตุ”
ศุภมิตร ปิติพัฒน์ ชวนฝึกอ่านสถานการณ์จากสภาพปัญหาด้วยเครื่องมือที่เรียกว่า “critical juncture” เมื่อกระแสสำคัญทางการเมืองเคลื่อนบรรจบกัน จนกดดันให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางสังคม เรามองเห็นขอบฟ้าความเป็นไปได้ของสถานการณ์ที่จะเกิดขึ้นต่อไปอย่างไร
สมชาย ปรีชาศิลปกุล เขียนถึงปฏิสัมพันธ์ระหว่างคณะรัฐประหารกับสถาบันตุลาการ มองบทบาทของสถาบันตุลาการภายใต้ระบอบอำนาจนิยม และทำความเข้าใจฝ่ายตุลาการในเชิงสถาบัน โดยเฉพาะในบริบทของวงวิชาการไทย
อ่านทัศนะของ อายุษ ประทีป ณ ถลาง “นายประชา ช้ำชอก” อดีตบรรณาธิการข่าวหนังสือพิมพ์สยามโพสต์และไทยโพสต์ ว่าด้วย 3 ปีแห่งความถดถอยของประเทศชาติและประชาธิปไตย ภายใต้ระบอบ คสช.
ตลอดสามปีแห่งการ ‘คืนความสุข’ โดยคสช. คนจำนวนหนึ่งตกเป็นจำเลยด้วยข้อหาเป็นภัยต่อความมั่นคง นี่คือเรื่องเล่าของคนธรรมดาที่ไม่ได้อยู่ในรายการเดินหน้าประเทศไทย ไม่เคยปรากฏในสื่อกระแสหลัก แต่ประจักษ์แจ้งอยู่ในสมองและหัวใจของคนไทยกลุ่มหนึ่ง ซึ่งถูกทำให้เป็นอื่น และบางคนก็ต้องย้ายไปอยู่บนแผ่นดินอื่น—อย่างไม่มีกำหนดกลับ
ในวาระครบรอบ 3 ปี รัฐประหาร 22 พฤษภาคม 2557 “ประจักษ์ ก้องกีรติ” สำรวจงานวิจัยว่าด้วยรัฐประหารทั่วโลกเพื่อคุยกับสังคมไทยว่า เขาเลิกทำรัฐประหารกันแล้ว ผู้นำรัฐประหารไม่เคยรักษาสัญญา รัฐประหารไม่สามารถฟื้นฟูประชาธิปไตยให้คุณภาพดีขึ้นได้ กลับทำให้ยิ่งถดถอยลง ดังนั้น รัฐประหารจึงไม่ใช่ทางออกของการแก้ปัญหาความขัดแย้งทางการเมือง
101 สนทนากับ ยิ่งชีพ อัชฌานนท์ แห่งไอลอว์ ถึงสถานการณ์ด้านสิทธิเสรีภาพของไทย กระบวนการยุติธรรมไทย วงการกฎหมายไทย และวงการเอ็นจีโอไทย
เวียง-วชิระ บัวสนธ์ ถามสามปีรัฐประหาร – แล้วเป็นไง? แล้วจะทำอย่างไร?
อยากขึ้นมาเป็นผู้นำประเทศใครว่ายาก ลองมาดูกันว่า คณะออลสตาร์ผู้นำเผด็จการทหารของไทยใช้เวลาเท่าไหร่ในการ Coming of Age จากเป็นแค่แม่ทัพจับปืน มายืนลิ้มรสอำนาจบริหารชาติไทย
ระบบ Recommend จะคัดสรรบทความและสื่อสร้างสรรค์ต่างๆ ที่คุณสนใจ มาให้คุณเลือกในหน้าโปรไฟล์ส่วนตัวของคุณ ให้คุณไม่พลาดทุกเนื้อหาที่คัดมาสำหรับคุณโดยเฉพาะ
คุณสามารถบันทึกบทความแบบ Read Later โดยคลิกที่ปุ่ม Bookmark Icon หรือจะเก็บบทความที่ชื่นชอบเป็นการส่วนตัวไว้ในหมวด Favorite โดยคลิกที่ปุ่ม Favorite Icon เพื่อกลับมาอ่านในภายหลัง
เพียงคุณลงชื่อเข้าใช้ ระบบจะจดจำตัวเลือกฟอนต์และธีมสีที่คุณเคยเลือก ให้คุณอ่านและรับชมทุกเนื้อหาอย่างเต็มที่ สบายตาและเพลิดเพลินใจในแบบที่เหมาะกับคุณ ไม่ว่าจะใช้งานบนคอมพิวเตอร์ แท็บเล็ต หรือสมาร์ตโฟน
เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า