fbpx

Film & Music

1 Dec 2020

ไม่ลืม Goodbye, Dragon Inn

‘นรา’ เขียนถึงภาพยนตร์สัญชาติไต้หวัน Goodbye, Dragon Inn ของไฉ้หมิงเลี่ยง ที่เล่าถึงความเสื่อมโทรมของโรงหนังและการฉายหนังด้วยความเรียบง่าย แต่ให้อารมณ์และบรรยากาศหม่นเศร้าบาดลึกตรึงใจ

นรา

1 Dec 2020

Thai Politics

1 Dec 2020

แนวคิดเรื่องการมีระบอบรัฐธรรมนูญในประเทศสยามก่อน 2475

กษิดิศ อนันทนาธร ชวนย้อนมองพัฒนาการของแนวคิดการปกครองประเทศไทยด้วยระบอบรัฐธรรมนูญที่เริ่มก่อตัวในสังคมมาตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 5-6-7 ก่อนลงเอยด้วยการอภิวัฒน์ 2475

กษิดิศ อนันทนาธร

1 Dec 2020

Social Problems

1 Dec 2020

สิทธิสตรีมุสลิม จากปากคำของ ‘รอซิดะห์ ปูซู’ นักต่อสู้เพื่อยุติความรุนแรงต่อผู้หญิงชายแดนใต้

สนทนากับ รอซิดะห์ ปูซู นักต่อสู้เพื่อสิทธิของผู้หญิงชายแดนใต้ ว่าด้วยปัญหาความรุนแรงต่อผู้หญิง นิยาม ‘สิทธิสตรี’ และ ‘ความเท่าเทียมทางเพศ’ ในสังคมที่ความเชื่อทางศาสนากำหนดบทบาทให้หญิงและชายแตกต่างกัน

ศุภาวรรณ คงสุวรรณ์

1 Dec 2020

World

26 Nov 2020

ดีเอโก อาร์มันโด มาราโดนา: เทวทูตแห่งฟุตบอลผู้มีใบหน้าเปื้อนฝุ่นกับชีวิตแห่งการต่อต้าน 

ตฤณ ไอยะรา เขียนถึงห้วงชีวิตของดีเอโก มาราโดนา สมัยที่เป็นนักฟุตบอลผู้ยิ่งใหญ่ เชื่อมโยงกับประวัติศาสตร์อาร์เจนตินา ชีวิตของมาราโดนาสะท้อนอัตลักษณ์ของชาวอาร์เจนตินาอย่างไรบ้าง

ตฤณ ไอยะรา

26 Nov 2020

Social Movement

26 Nov 2020

‘กฎ’ ของการ ‘กดปุ่ม’ : ท่องจักรวาลไร้ขัดแย้งในวัฒนธรรมดิจิทัล กับ เมธาวี โหละสุต

101 ชวนเมธาวี โหละสุต คุยตั้งแต่เรื่องพอดแคสต์ว่าด้วยปุ่มกด ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับโลกดิจิทัล การเคลื่อนไหวทางการเมืองในโซเชียลฯ พระเจ้าที่ชื่อว่าอัลกอริธึม และจักรวาลคู่ขนานในโลกออนไลน์

ปาณิส โพธิ์ศรีวังชัย

26 Nov 2020

Lifestyle

25 Nov 2020

แพข้าวป่าแห่งทะเลสาบนกพิราบ: เมื่ออาหารคือการต่อต้าน และ ทะเลสาบในอุดมคติ

ณัฎฐา ชื่นวัฒนา พาไปดู ‘ข้าวป่า’ อาหารศักดิ์สิทธิ์ของชนพื้นเมืองในแคนาดาที่เป็น ‘วัชพืช’ ในสายตาผู้มาใหม่ และเมื่อเกิดข้อขัดแย้งเกี่ยวกับการจัดการทรัพยากรธรรมชาติในชุมชน ข้าวป่าก็กลายเป็นเครื่องมือต่อสู้เพื่อรักษาอำนาจและวัฒนธรรมของคนพื้นเมืองไว้

ณัฎฐา ชื่นวัฒนา

25 Nov 2020

Books

24 Nov 2020

ดับเบิ้ลซีไรต์ (อีกแล้ว) กับความน่าเหนื่อยหน่ายของวรรณกรรมไทย (อีกครั้ง)

อาทิตย์ ศรีจันทร์ วิจารณ์รางวัลวรรณกรรมซีไรต์ ที่ชวนให้ตั้งคำถามว่าเกณฑ์การตัดสินและการมอบรางวัลเปลี่ยนแปลงเท่าทันความก้าวหน้าด้านวรรณกรรมและคุณค่าในสังคมไทยหรือยัง

อาทิตย์ ศรีจันทร์

24 Nov 2020

Social Problems

24 Nov 2020

สำรวจความอยู่ดีมีสุขของเด็กไทย ในวันที่พ่อแม่ไม่อยู่บ้าน กับ อารี จำปากลาย

101 สนทนากับ รศ.ดร.อารี จำปากลาย ผู้อำนวยการสถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล เกี่ยวกับสถานการณ์การย้ายถิ่นฐานของพ่อแม่ที่กระทบกับครอบครัวและพัฒนาการเด็ก ผลกระทบจากโควิด-19 การใช้ความรุนแรงและการลงโทษเด็ก รวมถึงโจทย์ใหญ่และโอกาสที่เกิดขึ้นในช่วงโรคระบาด

กานต์ธีรา ภูริวิกรัย

24 Nov 2020

Thai Politics

23 Nov 2020

ม็อบ มีมและการเมืองคนรุ่นใหม่ กับ อาจินต์ ทองอยู่คง

101 สนทนากับ อาจินต์ ทองอยู่คง อาจารย์ประจำคณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เพื่อทำความเข้าใจที่ทางของมีมในกระแสการเคลื่อนไหวทางการเมืองในไทย และ pop culture ในการประท้วง

ณรจญา ตัญจพัฒน์กุล

23 Nov 2020

Books

23 Nov 2020

ในเมืองที่ถูกพระเจ้าทอดทิ้ง Snow(Kar)

‘นรา’ เขียนถึง “หิมะ” (Snow) นวนิยายของออร์ฮาน ปามุก นักเขียนโนเบลสาขาวรรณกรรม ที่เล่าความขัดแย้งเรื่องการเมืองและความเชื่อทางศาสนาในสังคมตุรกีผ่านเมืองสมมติเล็กๆ ที่หิมะตกหนักตลอดปี

นรา

23 Nov 2020

Thai Politics

19 Nov 2020

จดหมายถึง สรวงมณฑ์ สิทธิสมาน

วรพจน์ พันธุ์พงศ์ เขียนจดหมายถึงสรวงมณฑ์ สิทธิสมาน เมื่ออ่านบทความเรื่อง ‘ครอบครัวสะบั้นเพราะการเมือง!’ ที่สรวงมณฑ์เขียน วรพจน์โต้แย้งและตั้งคำถามในหลายประเด็น

วรพจน์ พันธุ์พงศ์

19 Nov 2020

Thai Politics

19 Nov 2020

การประท้วงทางการเมือง VS ทำลายของสาธารณะ

คอลัมน์ TREND RIDER สัปดาห์นี้ โตมร ศุขปรีชา เขียนถึง vandalism หรือการพ่นสี ขีดเขียน หรือทำลายทรัพย์สินในพื้นที่สาธารณะที่เป็นมากกว่าเพียงแค่ความวุ่นวายและอาชญกรรม

โตมร ศุขปรีชา

19 Nov 2020

Trends

18 Nov 2020

Listening NYC: เมื่อการออกแบบมีส่วนร่วมปฏิรูปวงการตำรวจ

Eyedropper Fill พาไปรู้จัก Listening NYC แคมเปญที่ใช้ ‘การคิดเชิงออกแบบ’ เข้าไปร่วมปรับปรุงการทำงานของตำรวจในนิวยอร์ก ทำให้ผู้คนในสังคมมีส่วนร่วมในการปฏิรูปวงการตำรวจ

อายดรอปเปอร์ ฟิลล์

18 Nov 2020

Life & Culture

17 Nov 2020

จดหมายถึงพระมหากษัตริย์: เสียงเรียกร้องให้ปฏิรูป ก่อนการปฏิวัติใหญ่ของฝรั่งเศส ปี 1789

อติเทพ ไชยสิทธิ์ เล่าถึงประวัติศาสตร์ความขัดแย้งระหว่างกลุ่มชนชั้นนำและกษัตริย์ฝรั่งเศส และการเขียนฎีการ้องทุกข์จากประชาชนทั่วอาณาจักรเพื่อเรียกร้องการปฏิรูป ก่อนจบลงด้วยการปฏิวัติ

อติเทพ ไชยสิทธิ์

17 Nov 2020

Lifestyle

17 Nov 2020

ขนมปังนั้นอุ่นที่ใจ

อาหารจำพวกแป้งและขนมอบมักเยียวยาเราได้เสมอยามทุกข์ใจ สูตรขนมปังอบของ คำ ผกา ก็เช่นกัน หยุดขบเคี้ยวความเครียด แล้วมาอุ่นที่ใจไปกับกลิ่นหอมๆ ของก้อนขนมปังในคอลัมน์ #กับข้าวกับแขก

คำ ผกา

17 Nov 2020
1 83 84 85 176

MOST READ

Life & Culture

31 Mar 2024

ประเทศไทยจะแต่งตัวยังไง? ขายรสนิยมแบบไหน?  คุยกับ ‘กมลนาถ องค์วรรณดี’ ถึง 3 เดือน ในตำแหน่งคณะกรรมการซอฟต์พาวเวอร์แฟชั่น

101 สนทนากับ กมลนาถ องค์วรรณดี ถึงประสบการณ์ 3 เดือนของการทำงานในฐานะคณะกรรมการซอฟต์พาวเวอร์แฟชั่น และอนาคตของอุตสาหกรรมสิ่งทอไทย

กองบรรณาธิการ

31 Mar 2024

Life & Culture

26 Mar 2024

ไม่ยาก ถ้าอยากเป็น ‘วัยรุ่นเทสต์ดี’ : เข้าใจจักรวาลซื้อขายรูป กับการพยายามอยากเป็น ‘คนอื่น’ บนโลกออนไลน์

101 พาเข้าใจจักรวาลซื้อขายรูป ‘เทสต์ดี’ จักรวาลที่เปิดโอกาสให้ทุกคนซื้อและขายรูป ‘ชีวิตดีย์’ ทุกรูปแบบ พร้อมชวนตั้งคำถามว่าปรากฏการณ์นี้สะท้อนสังคมอย่างไร

ชลธิชา ทักษิณาเวศน์

26 Mar 2024

Phenomenon

11 Apr 2024

จาก ‘หลานม่า’ ถึงปรากฏการณ์ผู้สูงวัยใน TikTok : caregiver และการออกแบบ ‘วาระสุดท้าย’ ในทางสังคม

คอลัมน์ ‘Phenomenon’ สัปดาห์นี้ โตมร ศุขปรีชา พาสำรวจปรากฏการณ์ ‘หลานม่า’ และผู้สูงวัยใน Tik Tok สะท้อนเรื่องการดูแลผู้สูงอายุซึ่งถูกผลักให้เป็นเพียงเรื่องของปัจเจกและความกตัญญู จุดประเด็นให้มีการจัดการทางสังคมแบบใหม่เพื่อออกแบบ ‘วาระสุดท้าย’ ให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงสู่สังคมผู้สูงอายุ

โตมร ศุขปรีชา

11 Apr 2024

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save