fbpx

Life & Culture

18 Dec 2018

นิยายวาย : กระแสนิยม และกระจกสะท้อนสังคมที่ ‘ไร้เดียงสาทางเพศ’

ศุภาวรรณ คงสุวรรณ์ พาสำรวจว่า ‘นิยายวาย’ หรือนิยายชายรักชาย ที่ได้รับความนิยมในหมู่นักอ่านยุคใหม่เป็นอย่างไร เส้นทางของนิยายวายผ่านอะไรมาบ้างกว่าจะได้รับความนิยม และสะท้อนประเด็นเรื่อง ‘เพศ’ ในสังคมไทยอย่างไรบ้าง

ศุภาวรรณ คงสุวรรณ์

18 Dec 2018

TREND RIDER

13 Dec 2018

เมื่อไฟไหม้หนังสือ The Library Book เรื่องของคนรักหนังสือ

คอลัมน์ Little Read ของโตมร ศุขปรีชา สัปดาห์นี้ พาไปอ่าน The Library Book หนังสือที่ว่าด้วยปริศนาไฟไหม้ห้องสมุดครั้งใหญ่ในประวัติศาสตร์อเมริกา

โตมร ศุขปรีชา

13 Dec 2018

อนาคตธุรกิจหนังสือ

11 Dec 2018

ไอดา อรุณวงศ์ : ความในใจที่ ‘นายประกัน’ ไม่เคยบอก

คุยกับ ‘ไอดา อรุณวงศ์’ บรรณาธิการสำนักพิมพ์อ่าน ว่าด้วยชีวิตและการงานหลังรัฐประหาร โดยเฉพาะบทบาทของการเป็น ‘นายประกัน’

พันธวัฒน์ เศรษฐวิไล

11 Dec 2018

TREND RIDER

6 Dec 2018

สวนในความทรงจำ : เทพนิยายของออสการ์ ไวลด์

โตมร ศุขปรีชา เขียนถึง Selfish Giant เทพนิยายของออสการ์ ไวลด์ งานที่ “กล่าวถึงความหมายที่แท้จริงของสวนเอาไว้อย่างสวยงามและมหัศจรรย์ที่สุดเท่าที่มนุษย์คนหนึ่งจะทำได้”

โตมร ศุขปรีชา

6 Dec 2018

Life & Culture

5 Dec 2018

‘นายผี’ ในมุมของนักวิจารณ์วรรณกรรม และนักกฎหมาย

พันธวัฒน์ เศรษฐวิไล เก็บความจากเสวนา ‘วรรณกรรมของนายผี กับความยุติธรรมของอัศนี พลจันทร’ ร่วมด้วย ชูศักดิ์ ภัทรกุลวณิชย์ กับ วรเจตน์ ภาคีรัตน์ ในวาระครบรอบ 100 ปีชาตกาล ‘นายผี’

พันธวัฒน์ เศรษฐวิไล

5 Dec 2018

AFTERSHOCK

30 Nov 2018

Nan Poesie : เมื่อบทกวีคือการทรยศ (อันงดงาม)

พันธวัฒน์ เศรษฐวิไล เขียนถึง ‘Nan Poesie’ เทศกาลบทกวีแห่งเมืองน่าน ครั้งที่ 1 ที่รวบรวมกวี-คนทำงานศิลปะ ทั้งมืออาชีพและมือสมัครเล่น ควบคู่ไปกับการดึงชุมชนเข้ามามีส่วนร่วม

พันธวัฒน์ เศรษฐวิไล

30 Nov 2018

Books

29 Nov 2018

The Great Sea รู้จักเมดิเตอร์เรเนียนผ่านประวัติศาสตร์มนุษย์

โตมร ศุขปรีชา พาไปท่องซิซิลีผ่านหนังสือ ‘ทะเลอันยิ่งใหญ่: ประวัติศาสตร์มนุษย์แห่งเมดิเตอร์เรเนียน’ งานเขียนของ เดวิด อับดุลาเฟีย นักประวัติศาสตร์ที่เล่าถึง ‘ชีวิต’ ในทะเลเมดิเตอร์เรเนียนผ่านประวัติศาสตร์มนุษย์ในยุคหลายหมื่นปีก่อน

โตมร ศุขปรีชา

29 Nov 2018

Life & Culture

18 Nov 2018

อุทยานหมอกสนธยา กับการลืมหรือจดจำบาดแผลจากอดีต

ธร ปีติดล อ่านนวนิยายเรื่อง ‘อุทยานหมอกสนธยา’ ว่าด้วยบาดแผลในประวัติศาสตร์ของมาเลเซีย ช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 ผ่านแว่นตาของแนวคิดเรื่องวัฒนธรรมลอยนวลพ้นผิด และปัญหาจากการเลือกจดจำหรือหลงลืมประวัติศาสตร์ที่เป็นบาดแผล

ธร ปีติดล

18 Nov 2018

Books

16 Nov 2018

ชันสูตรประวัติศาสตร์ กับ รศ.นพ.เอกชัย โควาวิสารัช

101 ชวนคุณหมอนักประวัติศาสตร์ ผู้ศึกษาประวัติศาสตร์ด้วยตัวเอง มานั่งคุยแบบ ‘ประวัติศาสตร์วิเคราะห์’ ที่ไม่ได้จำแค่ พ.ศ. เท่านั้น แต่ว่าด้วยความตาย และการชำระ-ชำแหละประวัติศาสตร์ด้วยวิทยาศาสตร์

ปาณิส โพธิ์ศรีวังชัย

16 Nov 2018

Interviews

3 Nov 2018

ประเทศกูมีกวี : คุยกับ วรพจน์ พันธุ์พงศ์ ผู้ร่วมบุกเบิกเทศกาล ‘Nan Poesie’

คุยกับ ‘วรพจน์ พันธุ์พงศ์’ นักเขียน นักสัมภาษณ์ ที่กำลังปลุกปั้นโปรเจ็กต์ ‘Nan Poesie’ เทศกาลบทกวีแห่งเมืองน่าน พื้นที่ใหม่ที่ศิลปินหลากสาขาจะได้มาพบปะกัน

พันธวัฒน์ เศรษฐวิไล

3 Nov 2018

อนาคตธุรกิจหนังสือ

30 Oct 2018

“การเป็นนักแปล ไม่ใช่แค่รู้ภาษา” – เปิดชีวิตนอกตำรา ฉบับ ‘สดใส’

คุยกับ ‘สดใส’ นักแปลที่คร่ำหวอดอยู่ในวงการร่วมสี่สิบปี ว่าด้วยชีวิตนอกตำราในฐานะอาจารย์ด้านประวัติศาสตร์ ซึ่งหลอมรวมกับการทำงานแปลได้อย่างลงตัว

พันธวัฒน์ เศรษฐวิไล

30 Oct 2018

Spotlights

30 Oct 2018

เสียงจากสำนักพิมพ์ – อนาคต ‘งานหนังสือ’ ที่อยากไปให้ถึง

งานหนังสือแบบไหนที่เราอยากเดินไปให้ถึง เมื่อสถานที่ซึ่งเป็นปัจจัยสำคัญต้องผันเปลี่ยนไปตามเงื่อนไขเวลา อะไรคือโจทย์ของคนทำหนังสือที่จำเป็นต้องมีพื้นที่รองรับ กระทั่งว่าคนอ่านแบบไหนที่เจ้าของหนังสืออยากพบเจออีกในอนาคต

ธิติ มีแต้ม

30 Oct 2018

Books

24 Oct 2018

ความน่าจะอ่าน – เปิดลายแทง ‘หนังสือน่าอ่าน’ ในงานมหกรรมหนังสือระดับชาติ 2561

รวบรวมหนังสือน่าอ่าน 20 เล่ม ในงานมหกรรมหนังสือระดับชาติ ครั้งที่ 23 ไล่เรียงไปตั้งแต่งานวิชาการเข้มๆ วรรณกรรมหลากรูปแบบ หรือหนังสือแนว Brainy Books ที่กำลังเป็นที่นิยม 

กองบรรณาธิการ

24 Oct 2018

Life & Culture

7 Oct 2018

ORLANDO : A BIOGRAPHY “ราวกับว่าไม่ได้อยู่ในเพศหนึ่งเพศใด”

ปาณิส โพธิ์ศรีวังชัย เขียนถึงหนังสือของเวอร์จิเนีย วูล์ฟ ที่ว่ากันว่าเป็นจดหมายรักต่อผู้หญิงคนรักของเธอ เรื่องราวของออร์แลนโด ผู้ชายที่กลายเป็นผู้หญิงและมีชีวิตอยู่ยาวนานกว่า 400 ปี

ปาณิส โพธิ์ศรีวังชัย

7 Oct 2018

Life & Culture

29 Sep 2018

ผุดเกิดมาลาร่ำ ความงามของความตาย

ปาณิส โพธิ์ศรีวังชัย เขียนถึง ‘ผุดเกิดมาลาร่ำ’ นวนิยายเล่มแรกในชีวิตของ อารยา ราษฎร์จำเริญสุข ศิลปินศิลปาธร ผู้มองความตายในแง่งาม

ปาณิส โพธิ์ศรีวังชัย

29 Sep 2018
1 23 24 25 29

MOST READ

Life & Culture

26 Mar 2024

ฆ่าความไร้เดียงสา To Kill a Mockingbird (ผู้บริสุทธิ์)

‘นรา’ เขียนถึงนิยาย To Kill a Mockingbird หรือ ‘ผู้บริสุทธิ์’ ผลงานชิ้นเยี่ยมของฮาร์เปอร์ ลี ที่ได้รางวัลพูลิตเซอร์และดัดแปลงเป็นภาพยนตร์ได้อย่างซาบซึ้งตรึงใจ

นรา

26 Mar 2024

Life & Culture

27 Mar 2024

ความทุกข์ของยุคสมัยใน ‘แมลงสาบในเมืองสลด’

อาทิตย์ ศรีจันทร์ เขียนถึง ‘แมลงสาบในเมืองสลด’ งานวรรณกรรมของ อ้อมแก้ว กัลยาณพงศ์ ว่าด้วยชายคนหนึ่งที่กลายเป็นแมลงสาบ ซึ่งชวนให้นึกไปถึง The metamorphosis งานชิ้นเอกของ ฟรันซ์ คาฟคา ที่เล่าถึงชายที่กลายเป็นแมลงเหมือนกัน… หากแต่การกลายเป็นแมลงของทั้งสองเรื่องนั้นให้ความหมายแตกต่างกันโดยสิ้นเชิง โดยเฉพาะเมื่อพินิจจากบรรยากาศของยุคสมัย

อาทิตย์ ศรีจันทร์

27 Mar 2024

Books

17 Apr 2024

ดราก้อนบอล ลิขสิทธิ์ และหัวนมโกฮัง: ประวัติศาสตร์ระยะใกล้ กับป๊อบคัลเจอร์ในสังคมไทย

ภิญญพันธุ์ พจนะลาวัณย์ ชวนย้อนมองมังงะ ‘ดราก้อนบอล’ ในฐานะวัฒนธรรมป๊อบและสินค้า หาคำตอบว่าดราก้อนบอลมีที่ทางอย่างไรในโลกของนักอ่านชาวไทย และเราจะอ่านดราก้อนบอลให้เห็นการเปลี่ยนแปลงของสังคมไทยได้อย่างไร

ภิญญพันธุ์ พจนะลาวัณย์

17 Apr 2024

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save