fbpx

Trends

20 Apr 2020

เมืองหลังโรคระบาด

คอลัมน์ #เมืองกลายพันธุ์ ตอนใหม่ อภิวัฒน์ รัตนวราหะ เขียนถึง เมืองหลังโรคระบาด อธิบาย ‘ความปกติใหม่’ ที่ต้องพิจารณาสภาพและโครงสร้างที่เป็นอยู่ก่อนเกิดโรคระบาด และต้องเป็นความปกติใหม่ที่ขยายภาพไปไกลกว่าวิถีชีวิตของชนชั้นกลาง

อภิวัฒน์ รัตนวราหะ

20 Apr 2020

Education

16 Apr 2020

รับมือการศึกษาในยุค COVID-19 : ความเหลื่อมล้ำและทรัพยากรของผู้เรียนจะยิ่งสำคัญ

ภูมิศรัณย์ ทองเลี่ยมนาค เขียนถึงผลกระทบทางการศึกษา จากวิกฤต COVID-19 เมื่อความเหลื่อมล้ำในสังคมทำให้เด็กเข้าถึงการเรียนรู้ในระบบออนไลน์ได้อย่างไม่เท่าเทียม

ภูมิศรัณย์ ทองเลี่ยมนาค

16 Apr 2020

Economic Focus

15 Apr 2020

ความเหลื่อมล้ำหลายเสี่ยง เมื่อโควิดปิดเมือง: ผลกระทบต่อตลาดแรงงานไทย

4 นักเศรษฐศาสตร์จาก 4 สถาบันวิชาการชั้นนำเปิดผลวิจัยสดใหม่ว่า ด้วยความเสี่ยงและผลกระทบของนโยบายปิดเมืองต่อตลาดแรงงานไทย

กองบรรณาธิการ

15 Apr 2020

Economic Focus

8 Apr 2020

พลิกวิกฤต COVID-19 มองอนาคตเศรษฐกิจไทยและโลก

101 ชวนดร. สันติธาร เสถียรไทย มองไปข้างหน้าว่าไวรัสโควิด-19 จะเปลี่ยนโฉมเศรษฐกิจไทย เศรษฐกิจโลก ความเหลื่อมล้ำ และโลกดิจิทัลให้มีหน้าตาอย่างไรในอนาคต

ณรจญา ตัญจพัฒน์กุล

8 Apr 2020

Political Economy

27 Mar 2020

เมื่อฝุ่น PM 2.5 เผชิญกับความเหลื่อมล้ำในสังคมไทย

ธร ปีติดล และ ภวินทร์ เตวียนันท์ วิเคราะห์ ปัญหาฝุ่น PM 2.5 กับความเหลื่อมล้ำในสังคมไทย เพื่อชี้ให้เห็นว่า ในสถานการณ์วิกฤตด้านสุขภาพคนรายได้น้อยมักจะมีส่วนในต้นตอน้อยกว่า เสี่ยงมากกว่า และรับภาระมากกว่า

ธร ปีติดล

27 Mar 2020

Global Affairs

25 Mar 2020

โคโรนาไวรัสและจุดจบของโลกาภิวัตน์?

จันจิรา สมบัติพูนศิริ ชวนคิดถึงความเปลี่ยนแปลงของโลกาภิวัตน์เมื่อโคโรนาไวรัส ส่งผลต่อวิธีคิดแบบ ‘ชุมชนนิยม’ และเรียกร้องให้รัฐชาติกลับมามีบทบาทสำคัญยามคับขัน

จันจิรา สมบัติพูนศิริ

25 Mar 2020

Illustration and Infographics

28 Jan 2020

การศึกษาโลกสะท้อนไทย ความเหลื่อมล้ำที่ยังไม่หายไป

101 ชวนคุณส่องเทรนด์การศึกษาในศตวรรษที่ 21 ผ่านรายงานของ World Bank Group ว่าด้วยภาพรวมการศึกษาโลก วิกฤตการเรียนรู้ และทักษะที่จำเป็นนอกห้องเรียน

กองบรรณาธิการ

28 Jan 2020

Asia

26 Jan 2020

อินเดีย 2020 กับมรสุมลูกใหญ่ที่ต้องก้าวข้าม

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก ชวนทำความเข้าใจปัญหาและอุปสรรคทางด้านการพัฒนาของอินเดียในปี 2020 ที่รัฐบาลโมดี 2.0 ต้องเผชิญ และชวนมองความเป็นไปของอินเดียในปีนี้ว่าจะมีแนวโน้มเป็นอย่างไร

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก

26 Jan 2020

Education

23 Jan 2020

101 Policy Forum : ทลายคอขวดปฏิรูปการศึกษา ฝ่ามรสุมความเหลื่อมล้ำ

101 Policy Forum ชวน พิสิฐ ลี้อาธรรม, น.ต.ศิธา ทิวารี, ไกรเสริม โตทับเที่ยง, กุลธิดา รุ่งเรืองเกียรติ ร่วมหาทางออกจากความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา

กองบรรณาธิการ

23 Jan 2020

Political Economy

22 Jan 2020

ถอดบทเรียนรัฐสวัสดิการใน 3 กราฟ

วีระยุทธ กาญจน์ชูฉัตร เขียนถึงบทเรียนเรื่องรัฐสวัสดิการ ผ่านการวิเคราะห์สิ่งที่อยู่เบื้องหลังกราฟ 3 ภาพ ได้แก่ ประเด็นความเหลื่อมล้ำ นโยบายทางสังคม และวิธีออกแบบรัฐสวัสดิการที่มีคุณภาพ

วีระยุทธ กาญจน์ชูฉัตร

22 Jan 2020

Economic Focus

20 Jan 2020

ยิ่งลดหย่อน…ยิ่งเหลื่อมล้ำ?: บทเรียนจากการให้สิทธิลดหย่อนภาษี LTF และ RMF

นรชิต จิรสัทธรรมและกฤตยาณี กิตติพัฒน์พาณิช เขียนเล่างานวิจัยใหม่ล่าสุดว่าด้วยผลกระทบของมาตรการลดหย่อนภาษี LTF และ RMF ว่า ส่งผลต่อความเหลื่อมล้ำในสังคมอย่างไร พร้อมเสนอแนวคิดในการออกแบบนโยบายเพื่อลดความเหลื่อมล้ำอย่างแท้จริง

กองบรรณาธิการ

20 Jan 2020

World

6 Jan 2020

เศรษฐศาสตร์การเมืองว่าด้วยการพัฒนาประชาธิปไตยสมัยใหม่ในลาตินอเมริกา

เชาวฤทธิ์ เชาว์แสงรัตน์ หาคำตอบจากข้อถกเถียงที่ว่า ‘ปัจจัยทางเศรษฐกิจ’ ส่งผลต่อกระบวนการพัฒนาประชาธิปไตยอย่างไร โดยวิเคราะห์ผ่านตัวอย่างจากประเทศต่างๆ ในลาตินอเมริกา

เชาวฤทธิ์ เชาว์แสงรัตน์

6 Jan 2020

Thai Politics

6 Jan 2020

เควิน เฮวิสัน : ประชาธิปไตยไทยบนเครื่องวิ่งอัตโนมัติ – วิ่งบ้าง เดินบ้าง แต่ยังอยู่ที่เดิม

สมคิด พุทธศรี สนทนากับเควิน เฮวิสัน บรรณาธิการบริหารวารสาร Journal of Contemporary Asia ว่าด้วยอนาคตการเมืองไทยในปี 2020

สมคิด พุทธศรี

6 Jan 2020
1 5 6 7 9

RECOMMENDED

Social Issues

17 Feb 2017

อ่านข่าวออนไลน์จากสำนักไหน ใครจำได้บ้าง

แน่นอน คนเราอ่านข่าวออนไลน์กันมากขึ้น แต่เราจำได้หรือเปล่าว่าข่าวไหนมาจากสำนักไหน ใครวิเคราะห์อะไรบ้าง ได้ตามข่าวไหนต่อเป็นพิเศษหรือเปล่า วิธีอ่านข่าวออนไลน์ของเราเป็นอย่างไร

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Social Issues

17 Feb 2017

น้ำแข็งขั้วโลกหดตัวต่ำสุดในประวัติศาสตร์ ไม่ใช่แค่ขั้วเดียว-แต่ทั้งสองขั้วเลย!

ขั้วโลกเหนือเป็นฤดูหนาว ขั้วโลกใต้เป็นฤดูร้อน แต่ที่เหมือนกันก็คือ ไม่ว่าจะหนาวจะร้อน ทั้งสองขั้วโลกต่างมีอาการ ‘น้ำแข็งหดตัว’ จนเกิดสถิติใหม่อย่างที่ไม่เคยเป็นมาก่อนด้วยกันทั้งคู่!

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Life & Culture

20 Feb 2017

พื้นที่สาธารณะ พื้นที่ของใครกันแน่?

ดัชนีชี้วัดความสุขประชากรในเมืองขึ้นอยู่กับอะไรบ้าง ห้างสวยแอร์เย็น รถไฟฟ้าไร้โฆษณา หรือจริงๆ มนุษย์เมืองล้วนต้องการพื้นที่สาธารณะที่เป็น ‘สาธารณะ’ จริงๆ

เทพพิทักษ์ มณีพงษ์

20 Feb 2017

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save