fbpx

City

20 Oct 2017

เราจะอยู่ร่วมกันกับการค้าข้างทางได้อย่างไร: บทเรียนจากนานาประเทศถึงไทย

ปัญหาการค้าข้างทางมักเป็นปัญหาหนึ่งที่ใครหลายๆ คนมักบ่นถึง บางคนถึงขั้นบอกว่า วิธีการจัดการที่ดีที่สุดก็คือ การนำมันออกไป แต่นี่นับเป็นวิธีการที่ดีที่สุดแล้วหรือ เพราะหลายครั้งที่ผ่านมา เวลามีการจัดระเบียบไล่รื้อ พอเวลาผ่านไป แผงลอยก็จะกลับมาใหม่เสมอ แล้วเราควรทำอย่างไรดี?

วชิรวิทย์ คงคาลัย

20 Oct 2017

Global Affairs

19 Oct 2017

Exclusive interview : อเล็ก รอสส์ ตอบคำถามเรื่องอนาคตของโลก สหรัฐ ไทย และเส้นทางการเมืองของเขา

สัมภาษณ์สุดพิเศษ อเล็ก รอสส์ สนทนากับ 101 เรื่องอุตสาหกรรมแห่งอนาคตกับประเทศกำลังพัฒนา ด้านมืดของเทคโนโลยีใหม่ จนถึงเศรษฐกิจการเมืองแห่งอนาคตของสหรัฐอเมริกา และเส้นทางทางการเมืองของเขา

สมคิด พุทธศรี

19 Oct 2017

Political Economy

9 Oct 2017

ดวงมณี เลาวกุล : ภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง ความฝันที่(ไม่)เป็นจริง?

101 ชวน ดวงมณี เลาวกุล ตอบทุกคำถามและข้อวิจารณ์เกี่ยวกับร่างกฎหมายภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง ภาษีเพื่อความเป็นธรรมและเพื่อท้องถิ่นที่หลายฝ่ายร่วมผลักดันมาหลายทศวรรษแต่ไม่สำเร็จสักที รอบนี้ความฝันมีโอกาสเป็นจริงหรือไม่

สมคิด พุทธศรี

9 Oct 2017

Economic Focus

7 Sep 2017

ขยะกองใหญ่ใต้พรมเศรษฐกิจไทย คุยเรื่องความโปร่งใสทางการคลัง กับภาวิน ศิริประภานุกูล

สนทนากับ “ภาวิน ศิริประภานุกูล” เรื่องความโปร่งใสทางการคลังและการปฏิรูปภาษี ในเศรษฐกิจที่เต็มไปด้วยขยะกองใหญ่ใต้พรมยักษ์

สมคิด พุทธศรี

7 Sep 2017

Thai Politics

30 Aug 2017

จากธัมมชโย ถึงยิ่งลักษณ์ ละครของชนชั้นนำ

สถานการณ์ของอดีตนายกรัฐมนตรี ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร และพระธัมมชโย อดีตเจ้าอาวาสวัดพระธรรมกาย มีความคล้ายคลึงกันอย่างไร วันชัย ตันติวิทยาพิทักษ์ เขียนเล่าพล็อตละครของชนชั้นนำสองเรื่องสองตัวเอก

วันชัย ตันติวิทยาพิทักษ์

30 Aug 2017

Political Economy

24 Jul 2017

Poor Economics

สฤณี อาชวานันทกุล ชวนอ่านหนังสือ “เศรษฐศาสตร์ความจน” (Poor Economics) ของ อภิจิต แบนเนอร์จี กับ เอสเธอร์ ดูฟโล สองนักเศรษฐศาสตร์พัฒนา เพื่อลบล้างมายาคติเกี่ยวกับความจน คนจน และวิธีปราบจน

สฤณี อาชวานันทกุล

24 Jul 2017

Law

10 May 2017

“โง่-จน-เจ็บ” ในกระบวนการยุติธรรม

สมชาย ปรีชาศิลปกุล ชวนคิดเรื่องใหญ่ในระบบกฎหมายไทย เมื่อช่องว่างระหว่าง “โลกของกฎหมายในหนังสือ” กับ “ปฏิบัติการของกฎหมายในชีวิตจริง” ถ่างกว้างเป็นรูโหว่ขนาดใหญ่ จนทำให้การใช้กฎหมายของสามัญชนในโลกจริงมีอยู่น้อยมากเมื่อเปรียบเทียบกับความขัดแย้งที่เกิดขึ้น และทำให้ “กระบวนการยุติธรรม” ส่งผลตรงกันข้าม กลายเป็น “กระบวนการอยุติธรรม”

อะไรคือสาเหตุของการตกเป็นเหยื่อในกระบวนการยุติธรรม?

สมชาย ปรีชาศิลปกุล

10 May 2017

Life & Culture

8 May 2017

สีผิวที่ถูกเหยียด จากอวกาศถึงแฟชั่น

กว่าที่คณิตกรผิวสีอย่างแคทเทอรีน จอห์นสัน จะได้รับการยกย่องว่ามีส่วนสำคัญช่วยให้นาซ่าประสบความสำเร็จ เธอก็อายุ 97 ปี เข้าไปแล้ว ส่วนออสติน เซอร์ ดีไซเนอร์ผิวดำ ก็บอกว่า การทำธุรกิจแฟชั่นนั้นว่ายากแล้ว แต่เป็นคนผิวดำยิ่งยากขึ้นไปอีก เพราะไม่มีธนาคารไหนอยากปล่อยเงินกู้ให้กับดีไซเนอร์ผิวดำ
เอกศาสตร์ สรรพช่าง ชวนสนทนาว่าด้วยเรื่องสีผิว จากบนอวกาศถึงแคตวอล์กแฟชั่น ว่าหลายสิบปีที่ผ่านมา มีการเปลี่ยนแปลงมากน้อยแค่ไหน

เอกศาสตร์ สรรพช่าง

8 May 2017

Political Economy

24 Apr 2017

Global Inequality

สฤณี อาชวานันทกุล ชวนอ่าน “กราฟช้าง” ของ Branko Milanović หนึ่งในกราฟแห่งยุคสมัยที่อธิบายสถานการณ์ความเหลื่อมล้ำระดับโลกได้ดีที่สุด

ใครได้ประโยชน์ ใครเสียประโยชน์ จากเศรษฐกิจโลกาภิวัตน์ร่วมสมัย สฤณีนำคำตอบจากหนังสือ Global Inequality ของ Milanović มาเล่าสู่กันอ่าน

สฤณี อาชวานันทกุล

24 Apr 2017

Lifestyle

19 Apr 2017

หลุมหลบภัยของซูเปอร์อีลีต

ใครๆ ก็ไม่แน่ใจในอนาคตกันทั้งนั้น อาจจะเกิดสงครามโลกครั้งที่สามตูมตามขึ้นมาเมื่อไหร่ก็ไม่รู้ หรือไม่ น้ำแข็งขั้วโลกก็อาจละลายทำให้น้ำท่วมโลกฉับพลัน หรือเกิดโรคระบาดจาก Superbug ตู้มเดียวตายเป็นล้านๆ คนก็ได้
คนอย่างเราๆ ท่านๆ นี่ ถ้าเกิดหายนะอะไรพวกนี้ขึ้นมา คงได้แต่สวดมนต์ภาวนารอความตาย แต่ถ้าเป็นคนในระดับ Top 1% หรือเป็นสุดยอดซูเปอร์อีลีตของโลกล่ะ พวกเขาเตรียมตัวรับมือเรื่องเล่านี้ไว้อย่างไรกันบ้างหรือเปล่า
ไปติดตามกัน!

กองบรรณาธิการ

19 Apr 2017
1 8 9

RECOMMENDED

Social Issues

17 Feb 2017

อ่านข่าวออนไลน์จากสำนักไหน ใครจำได้บ้าง

แน่นอน คนเราอ่านข่าวออนไลน์กันมากขึ้น แต่เราจำได้หรือเปล่าว่าข่าวไหนมาจากสำนักไหน ใครวิเคราะห์อะไรบ้าง ได้ตามข่าวไหนต่อเป็นพิเศษหรือเปล่า วิธีอ่านข่าวออนไลน์ของเราเป็นอย่างไร

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Social Issues

17 Feb 2017

น้ำแข็งขั้วโลกหดตัวต่ำสุดในประวัติศาสตร์ ไม่ใช่แค่ขั้วเดียว-แต่ทั้งสองขั้วเลย!

ขั้วโลกเหนือเป็นฤดูหนาว ขั้วโลกใต้เป็นฤดูร้อน แต่ที่เหมือนกันก็คือ ไม่ว่าจะหนาวจะร้อน ทั้งสองขั้วโลกต่างมีอาการ ‘น้ำแข็งหดตัว’ จนเกิดสถิติใหม่อย่างที่ไม่เคยเป็นมาก่อนด้วยกันทั้งคู่!

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Life & Culture

20 Feb 2017

พื้นที่สาธารณะ พื้นที่ของใครกันแน่?

ดัชนีชี้วัดความสุขประชากรในเมืองขึ้นอยู่กับอะไรบ้าง ห้างสวยแอร์เย็น รถไฟฟ้าไร้โฆษณา หรือจริงๆ มนุษย์เมืองล้วนต้องการพื้นที่สาธารณะที่เป็น ‘สาธารณะ’ จริงๆ

เทพพิทักษ์ มณีพงษ์

20 Feb 2017

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save