Low Profile, High Impact : สูตรลับสร้างรัฐนวัตกรรม
วีระยุทธ กาญจน์ชูฉัตร พาไปมองความสำเร็จของฟินแลนด์และอิสราเอลในการสร้างรัฐนวัตกรรม ซึ่งมีปัจจัยสำคัญคือการออกแบบเชิงสถาบันให้ ‘องค์กรรัฐนวัตกรรม’ มีอิสระในการลองผิดลองถูก

วีระยุทธ กาญจน์ชูฉัตร พาไปมองความสำเร็จของฟินแลนด์และอิสราเอลในการสร้างรัฐนวัตกรรม ซึ่งมีปัจจัยสำคัญคือการออกแบบเชิงสถาบันให้ ‘องค์กรรัฐนวัตกรรม’ มีอิสระในการลองผิดลองถูก
วีระยุทธ กาญจน์ชูฉัตร พาไปหาคำตอบว่า ทำไมนโยบายส่งเสริมความเท่าเทียมทางโอกาส ที่เหมือนจะดูดี กลับบ่อนทำลายสังคมและลดทอนคุณค่าความเป็นมนุษย์
วีระยุทธ กาญจน์ชูฉัตร เสนอแนวคิด ‘Platform State’ ในฐานะโมเดลการพัฒนาแบบใหม่ที่จะช่วยให้ประเทศไทยสามารถยกระดับการพัฒนาเศรษฐกิจได้อย่างแท้จริง
วีระยุทธ กาญจน์ชูฉัตร ตั้งคำถามว่าวิกฤตเศรษฐกิจมีพลังมากพอที่จะเปลี่ยนแปลงการเมืองได้จริงหรือไม่ และบนเงื่อนไขของปัจจัยใดบ้าง
วีระยุทธ กาญจน์ชูฉัตร และ นภนต์ ภุมมา ชวนมองนโยบายการคลังในช่วงโควิด-19 ที่ผ่านมา ตามหลักเศรษฐศาสตร์ของ ‘เคนส์’
วีระยุทธ กาญจน์ชูฉัตร วิเคราะห์เศรษฐกิจไทยในวิกฤตโควิด-19 เรื่องข้อควรระวังในการใช้มาตรการการคลังระยะสั้น มองกระแสเศรษฐกิจโลกในระยะกลาง และภาพเศรษฐกิจแห่งอนาคตในระยะยาว
วีระยุทธ กาญจน์ชูฉัตร เขียนถึงยุทธศาสตร์การเติบโตทางเศรษฐกิจของเกาหลีใต้ ที่ไทยอาจจะกำลังดำเนินรอยตามเพื่อก้าวสู่การเป็นประเทศโลกที่หนึ่ง
วีระยุทธ กาญจน์ชูฉัตร เขียนถึงบทเรียนเรื่องรัฐสวัสดิการ ผ่านการวิเคราะห์สิ่งที่อยู่เบื้องหลังกราฟ 3 ภาพ ได้แก่ ประเด็นความเหลื่อมล้ำ นโยบายทางสังคม และวิธีออกแบบรัฐสวัสดิการที่มีคุณภาพ
วีระยุทธ กาญจน์ชูฉัตร ชวนทำความรู้จัก ‘ยุทธศาสตร์เสือกระโดด’ ที่เกาหลีใต้และไต้หวันใช้ขับเคลื่อนสู่ประเทศโลกที่หนึ่ง หลังจากโลกเคยหันมามองเอเชียตะวันออกจาก ‘ทฤษฎีฝูงห่านบิน’ ที่นำโดยญี่ปุ่นมาแล้ว
วีระยุทธ กาญจน์ชูฉัตร เขียนถึงข้อเสนอการจัดระเบียบโลกใหม่ด้วยการกลับไปหาโลกาภิวัตน์แบบเก่า พร้อมกับสร้างชาตินิยมแบบใหม่ เพื่อลดความปั่นป่วนทางเศรษฐกิจและการเมือง
วีระยุทธ กาญจน์ชูฉัตร ชวนคิดเรื่อง ‘ห่วงโซ่การผลิตข้ามชาติ’ นำไปสู่รูปแบบการยกระดับความสามารถของแต่ละประเทศ และเครื่องมือในการคิดนโยบายที่ต้องคำนึงถึงกรอบกติการะหว่างประเทศและปัจจัยแวดล้อมอื่นๆ
วีระยุทธ กาญจน์ชูฉัตร เขียนถึงผลงานของ มาเกรเด เวสเทเออร์ กรรมาธิการด้านการแข่งขันแห่งสหภาพยุโรป ผู้ได้รับฉายาว่าเป็น ‘ผู้ทลายทุนผูกขาด’ ที่ทรงพลังสูงสุดแห่งประเทศโลกที่หนึ่ง
วีระยุทธ กาญจน์ชูฉัต ตีความมรดกความคิดของ รังสรรค์ ธนะพรพันธุ์ ใหม่ โดยมองการเมืองไทยผ่านเศรษฐศาสตร์รัฐธรรมนูญที่รังสรรค์เป็นผู้บุกเบิก
วีระยุทธ กาญจน์ชูฉัตร วิเคราะห์การเติบโตของอุตสาหกรรมมือถือ โดยมองผ่านกรอบ ‘เครือข่ายการผลิตข้ามชาติ’ (Global production networks) ซึ่งช่วยให้เห็นแนวทางและนโยบายที่ประเทศต่างๆ ใช้เพื่อเก็บเกี่ยวผลประโยชน์จากอุตสาหกรรมนี้
วีระยุทธ กาญจน์ชูฉัตร เขียนถึงวิวาทะระหว่าง ‘หลินอี้ฟู’ กับ ‘ฮาจุนชาง’ สองนักเศรษฐศาสตร์ระดับโลก ต่อประเด็นคำถามที่ว่า ควรใช้อะไรเป็น ‘เข็มทิศ’ ในการจัดการเศรษฐกิจ (รวมถึงการกำหนดยุทธศาสตร์ชาติ) ในยุคปัจจุบัน