fbpx

Life & Culture

29 Aug 2022

‘เรื่องโป๊และตำราเพศ’ ในสมุดจดปกรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2477

นริศ จรัสจรรยาวงศ์ เปิดกรุสมุดจดปกลายรัฐธรรมนูญยุค 2477 ที่ดูเหมือนจะไม่มีอะไร กลับกลายเป็นหนังสือโป๊และตำรากามสูตรที่ ‘แซ่บ’ ถึงใจ ควรค่าแก่การศึกษา

นริศ จรัสจรรยาวงศ์

29 Aug 2022

Interviews

25 Aug 2022

บิลลี่-วรกร ฤทัยวาณิชกุล สิบปีให้หลังของคนทำหนังไทยฟอร์มเล็ก สู่หนึ่งในทีมงานหนังฮอลลีวูด

101 สนทนากับ บิลลี่-วรกร ฤทัยวาณิชกุล หนึ่งในโปรดิวเซอร์ร่วมของหนังฮอลลีวูด Thirteen Lives (2022) และสิบปีของการเป็นคนทำหนังไทยที่ได้ไปแหวกว่ายในอุตสาหกรรมหนังโลก

พิมพ์ชนก พุกสุข

25 Aug 2022

Political Economy

25 Aug 2022

หลายคำถามต่อ Top Gun: หนัง เงิน อเมริกัน ฮีโร

อุกฤษฎ์ ปัทมานันท์ มองภาพยนตร์ Top Gun: Maverick ซึ่งเป็นตัวอย่างสะท้อนการใช้ระบบทุนนิยมดิจิทัลเป็นเครื่องมือขยายแนวคิดและอิทธิพลของสหรัฐฯ

อุกฤษฏ์ ปัทมานันท์

25 Aug 2022

Life & Culture

24 Aug 2022

THIRTEEN LIVES อภินิหารต่อลมหายใจ สิบสามหมูป่าในคร่ำครรภ์นางนอน

‘กัลปพฤกษ์’ เขียนถึง Thirteen Lives (2022) หนังลำดับล่าสุดของผู้กำกับฮอลลีวูด รอน ฮาเวิร์ด ที่จับจ้องไปยังเหตุการณ์ติดถ้ำที่เกิดขึ้นจริงในไทยเมื่อปี 2018 จนกลายเป็นหมุดหมายใหญ่ที่ประชาคมโลกร่วมมือให้ความช่วยเหลือ

‘กัลปพฤกษ์’

24 Aug 2022

Life & Culture

24 Aug 2022

เอกราช, สุวันนภูมิ, อิศรา อมันตกุล และ เอกราช สุวรรณภูมิ

จากกระแสการตามหาหนังสือพิมพ์เอกราช ที่ถูกอ้างอิงในงานวิชาการของณัฐพล ใจจริง อาชญาสิทธิ์ ศรีสุวรรณ เขียนถึงเจ้าของหนังสือพิมพ์ดังกล่าว นามอิศรา อมันตกุล

อาชญาสิทธิ์ ศรีสุวรรณ

24 Aug 2022

Life & Culture

23 Aug 2022

เรื่องเล่าของสาวรับใช้ Girl with a Pearl Earring

‘นรา’ เขียนถึงนวนิยาย Girl with a Pearl Earring หรือสาวใส่ต่างหูมุก ของเทรซี เชวาเลียร์ ที่เล่าเรื่องเบื้องหลังภาพวาดของศิลปินชื่อดัง เฟอร์เมียร์

นรา

23 Aug 2022

Interviews

22 Aug 2022

วนะ วรรลยางกูร และการ ‘แทงสวน’ ประวัติศาสตร์ของชนชั้นนำ

สนทนากับ วนะ วรรลยางกูร ศิลปินผู้สะบัดฝีแปรงเล่าเรื่องการ ‘แทงสวน’ ประวัติศาสตร์กระแสหลักในไทย และสังคมที่ถูกโฆษณาชวนเชื่อมอมเมาจนเราเฉยชากับการที่มีคนตายกลางเมือง ผ่านน้ำเสียงขึ้งเครียดและกราดเกรี้ยว

พิมพ์ชนก พุกสุข

22 Aug 2022

Life & Culture

22 Aug 2022

ไทยซบพม่า : แหวกหัวใจคู่พระนางสังเวยชาตินิยม ใน ‘เลือดสุพรรณ’ ละครเพลงยุคปฏิวัติ

ภิญญพันธุ์ พจนะลาวัณย์ เขียนถึง ‘เลือดสุพรรณ’ บทละครเวทีของหลวงวิจิตรวาทการ บทประพันธ์ที่ไม่ได้ทำให้พม่ากับไทยเป็นศัตรูคู่อาฆาตแบบขาว-ดำอย่างที่เราคุ้นชิน

ภิญญพันธุ์ พจนะลาวัณย์

22 Aug 2022

Life & Culture

17 Aug 2022

‘ฝ่าละออง’ ความทรงจำและประวัติศาสตร์ในวรรณกรรมการเมืองของจิรัฏฐ์ ประเสริฐทรัพย์

101 คุยกับจิรัฏฐ์ ประเสริฐทรัพย์ นักเขียนและศิลปิน เจ้าของวรรณกรรมการเมืองผู้ต้องการสะท้อนปัญหาสังคมไทยผ่านศิลปะที่หยอกล้อความเชื่ออนุรักษ์นิยม

สุดารัตน์ พรมสีใหม่

17 Aug 2022

Life & Culture

15 Aug 2022

Truffle Trouble: ปัญหาเห็ดๆ

คอลัมน์ ‘สารกันเบื่อ’ เดือนนี้ เอกศาสตร์ สรรพช่าง เขียนถึง ปัญหาเห็ดๆ ของ ‘เห็ดทรัฟเฟิล’ ที่นำไปสู่สารพัดเรื่องวุ่นในวงการอาหาร

เอกศาสตร์ สรรพช่าง

15 Aug 2022

Science & Innovation

15 Aug 2022

‘ชั่วเจ็ดที กว่าจะดีสักหน’ ทำไมคนเราจำเรื่องแย่ๆ ได้ดีกว่าเรื่องอื่น?

นำชัย ชีววิวรรธน์ เขียนถึงคำอธิบายทางจิตวิทยาของความคิดเชิงลบในมนุษย์ ที่มีต้นกำเนิดมาจากสัญชาตญาณการเอาตัวรอดในยุคหิน แต่ยังคงส่งผลต่อคนในยุคปัจจุบัน

นำชัย ชีววิวรรธน์

15 Aug 2022

Life & Culture

12 Aug 2022

ข้อคิดจากสมเด็จฯ : 90 พรรษา สมเด็จพระบรมราชชนนีพันปีหลวง

กษิดิศ อนันทนาธร เขียนถึงชีวประวัติและพระจริยวัตรของสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ เนื่องในโอกาสมีพระชนมายุครบ 90 พรรษา

กษิดิศ อนันทนาธร

12 Aug 2022

Life & Culture

10 Aug 2022

สงครามเย็นบนปลายลิ้น ความรุนแรงที่กลืนกินได้

ท่ามกลางความคุกรุ่นและความขัดแย้ง สงครามจะสร้างอาหารแบบใดขึ้นมาบ้าง นิติ ภวัครพันธุ์ ชวนสำรวจเมนูอาหารต่างๆ ที่ถือกำเนิดขึ้นมาภายใต้บริบทสงครมเย็นระหว่างสหรัฐฯ และเวียดนาม ที่ในเวลาต่อมาก็กลายเป็นอาหารที่หลายคนรู้จักกันดีและแสนจะคุ้นเคย

นิติ ภวัครพันธุ์

10 Aug 2022

Life & Culture

9 Aug 2022

เกาะเสม็ดและราคาของเรื่องเล่า

คอลัมน์ Sideway ตอนแรกว่าด้วยเรื่องราวของคนบนเกาะเสม็ดและค่ำคืนแห่งเกม เมื่อการตามรอยน้ำมันรั่วระยองนำทางไปสู่เรื่องราวใหม่ๆ ที่ไม่ได้คาดไว้

ปาณิส โพธิ์ศรีวังชัย

9 Aug 2022
1 40 41 42 176

MOST READ

Life & Culture

31 Mar 2024

ประเทศไทยจะแต่งตัวยังไง? ขายรสนิยมแบบไหน?  คุยกับ ‘กมลนาถ องค์วรรณดี’ ถึง 3 เดือน ในตำแหน่งคณะกรรมการซอฟต์พาวเวอร์แฟชั่น

101 สนทนากับ กมลนาถ องค์วรรณดี ถึงประสบการณ์ 3 เดือนของการทำงานในฐานะคณะกรรมการซอฟต์พาวเวอร์แฟชั่น และอนาคตของอุตสาหกรรมสิ่งทอไทย

กองบรรณาธิการ

31 Mar 2024

Phenomenon

11 Apr 2024

จาก ‘หลานม่า’ ถึงปรากฏการณ์ผู้สูงวัยใน TikTok : caregiver และการออกแบบ ‘วาระสุดท้าย’ ในทางสังคม

คอลัมน์ ‘Phenomenon’ สัปดาห์นี้ โตมร ศุขปรีชา พาสำรวจปรากฏการณ์ ‘หลานม่า’ และผู้สูงวัยใน Tik Tok สะท้อนเรื่องการดูแลผู้สูงอายุซึ่งถูกผลักให้เป็นเพียงเรื่องของปัจเจกและความกตัญญู จุดประเด็นให้มีการจัดการทางสังคมแบบใหม่เพื่อออกแบบ ‘วาระสุดท้าย’ ให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงสู่สังคมผู้สูงอายุ

โตมร ศุขปรีชา

11 Apr 2024

Life & Culture

18 Apr 2024

หลานม่า : ต้นไม้ เพดาน บ้าน ฮวงซุ้ย

วิวัฒน์ เลิศวิวัฒน์วงศา ชวนสำรวจความสัมพันธ์ของครอบครัวคนไทยเชื้อสายจีนใน ‘หลานม่า’ (2024) หนังที่ว่าด้วยหลานชายที่ต้องไปดูแลอาม่าผู้ป่วยเป็นมะเร็ง สิ่งที่ซุกซ่อนอยู่ใต้เส้นเรื่องที่ดูเหมือนจะคาดเดาได้ คือลำดับขั้นของความสัมพันธ์และบาดแผลที่ส่งต่อกันจากรุ่นสู่รุ่น

วิวัฒน์ เลิศวิวัฒน์วงศา

18 Apr 2024

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save