fbpx

Life & Culture

23 Jan 2019

#ยืมเมจ for what? ปรากฏการณ์ทางเพศรูปแบบใหม่ในสังคมเสมือน

ศุภาวรรณ คงสุวรรณ์ พาไปสำรวจ #ยืมเมจforsex แฮชแท็กที่ได้รับความนิยมในทวิตเตอร์ และช่องทางการแสดงออกเรื่องเพศของคนยุคดิจิทัล ทั้งความหมาย ต้นตอ และเพศวิถีที่น่าสนใจบนสังคมเสมือน

ศุภาวรรณ คงสุวรรณ์

23 Jan 2019

Lifestyle

21 Jan 2019

คิดถึงแกงสะแล

คอลัมน์ ‘กับข้าวกับแขก’ เดือนนี้ คำ ผกา หยิบเอาดอกสะแลมาแกงให้ทาน ‘สะแล’ นั้นขึ้นชื่อว่า หากอยู่เป็นต้นจะแผ่กิ่งก้านเกะกะดูแลยาก แต่หากอยู่ในน้ำแกงจะหอมชนิดที่ไม่มีวันได้กลิ่นนี้บนต้น

คำ ผกา

21 Jan 2019

People

21 Jan 2019

หันหลังให้เมืองกรุงฯ มุ่งสู่ผืนดิน : Just Beginning ‘เน็ตติ้ง จารุวรรณ สุพลไร่’

นักกิจกรรมหญิงออกจากเมืองกรุงฯ เพื่อกลับบ้าน สิ่งที่เธอพบตรงข้ามกับความโรแมนติกทุกประการ ทว่าโลกใบใหญ่และใหม่กำลังอ้าแขนต้อนรับเธอ

ธิติ มีแต้ม

21 Jan 2019

Film & Music

21 Jan 2019

Happy เมียฝรั่งกับอีสานที่ขาดหาย

รีวิวสารคดี Happy (2016) ที่ตั้งคำถามถึงการแต่งงานของหญิงไทยกับฝรั่งวัยเกษียณผ่านสายตาของ คาโรลิน เกนไรท์ ผู้กำกับสาวเยอรมันที่ตามถ่ายพ่อตัวเองกับคนรักใหม่อันชวนให้คิดทบทวนถึงนิยามของ ‘ความรัก’ และ ‘ความสุข’

วจนา วรรลยางกูร

21 Jan 2019

Art & Design

17 Jan 2019

สุขโดดเดี่ยว เศร้าเดียวดาย : คุยกับ ‘สุมาลี เอกชนนิยม’ ว่าด้วยศิลปะของการเป็นศิลปินเดี่ยว

พันธวัฒน์ เศรษฐวิไล คุยกับ สุมาลี เอกชนนิยม จิตรกรผู้เลือกวิถีโดดเดี่ยว และกลับมาอุทิศชีวิตให้การวาดรูปเต็มเวลาอีกครั้งหลังเกษียณ

พันธวัฒน์ เศรษฐวิไล

17 Jan 2019

Books

16 Jan 2019

อิทธิฤทธิ์ของชีวิตคน : สมิงสำแดง

ปาณิส โพธิ์ศรีวังชัย เขียนถึง ‘สมิงสำแดง’ หรือ Lelaki Harimau วรรณกรรมอินโดนีเซีย ที่เขียนโดยนักเขียนผู้มีฝีมือการเขียนโดดเด่นที่สุดคนหนึ่งแห่งยุคสมัยคือ เอกา กุรณียาวัน ว่าด้วยเรื่องของชายหนุ่มที่ถูกเสือขาวเพศเมียเข้าสิง

ปาณิส โพธิ์ศรีวังชัย

16 Jan 2019

Art & Design

16 Jan 2019

ชวนส่อง 5 ดีไซน์โปรเจ็กต์ ท้าชนปัญหามลพิษทางอากาศ

คอลัมน์ Third – Eye View ของ Eyedropper Fill สัปดาห์นี้ พาไปรู้จักกับ 5 ดีไซน์โปรเจ็กต์ ท้าชนปัญหามลพิษทางอากาศจากทั่วโลก ทั้งคูลและน่าตื่นตา

อายดรอปเปอร์ ฟิลล์

16 Jan 2019

Issue of the Age

15 Jan 2019

ทางออกของฝุ่น PM 2.5 : อย่าหยุดแค่การฉีดน้ำ

ชลธร วงศ์รัศมี เขียนถึงทางออกของปัญหาฝุ่น PM 2.5 รวบรวมทัศนะจากผู้เชี่ยวชาญด้านต่างๆ ทั้งในมุมของแพทย์ นักสิ่งแวดล้อม ไปจนถึงนักเศรษฐศาสตร์

ชลธร วงศ์รัศมี

15 Jan 2019

Science & Innovation

15 Jan 2019

Scientific Myths – เรื่องเข้าใจผิดทางวิทยาศาสตร์ ไม่ต้องคิดเหมือนกัน แค่ขอให้ ‘คิด’ ก่อนแค่นั้นพอ

โสภณ ศุภมั่งมี เขียนถึงวิธีการรับมือกับความเชื่อผิดๆ ทางวิทยาศาสตร์ของคนใกล้ตัว เช่น ยังมีคนเชื่อว่า “HIV ไม่ได้ทำให้เกิด AIDS” “อาหาร GMO นั้นไม่ปลอดภัย ห้ามกิน” “การเปลี่ยนแปลงของภูมิอากาศเป็นเรื่องแต่งให้คนเชื่อเท่านั้น” ฯลฯ เราจะบอกเพื่อนอย่างไรให้เข้าใจ

โสภณ ศุภมั่งมี

15 Jan 2019

Human & Society

13 Jan 2019

New Year’s Resolution ซ้ำแล้วซ้ำเล่า

คอลัมน์ Gen Why เดือนนี้ ปาณิส โพธิ์ศรีวังชัย เปิดศักราชปีใหม่ 2019 ด้วยการตั้งคำถามกับการตั้ง New Year’s Resolution ปีใหม่มีความหมายเช่นไร และมนุษย์ใช้ชีวิตแบบใดในกรอบของวันที่ การมีเป้าหมายในวันปีใหม่ช่วยบรรเทาอะไรในจิตใจคน

ปาณิส โพธิ์ศรีวังชัย

13 Jan 2019

Issue of the Age

12 Jan 2019

New Year : No-solution? – ปีใหม่ที่ไร้อนาคต?

ปาณิส โพธิ์ศรีวังชัย เขียนถึงอนาคตปี 2019 ผ่านสายตาของคนหลากหลายอาชีพ ตั้งแต่พนักงานรักษาความปลอดภัย ช่างก่อสร้าง ฟรีแลนซ์ และเจ้าของธุรกิจ ในโลกที่ผันผวน และสภาวะของประเทศที่ไม่มีอะไรแน่นอน ประชาชนมองภาพชีวิตของตัวเองอย่างไร และมีความหวัง ความฝันอะไรบ้าง

ปาณิส โพธิ์ศรีวังชัย

12 Jan 2019

Health

10 Jan 2019

“กัญชาอยู่ในตัวมนุษย์ทุกคน” ศ.นพ.ธีระวัฒน์ เหมะจุฑา

ท่ามกลางเสียงของวงการแพทย์ที่มองกัญชาต่างออกไป ในความหมายว่ากัญชาเป็นยาเสพติด เสียงของ ศ.นพ.ธีระวัฒน์ เหมะจุฑา ผู้สนับสนุนให้กัญชาถูกกฎหมายกำลังบอกอะไร

ธิติ มีแต้ม

10 Jan 2019

Film & Music

9 Jan 2019

เมืองเหมือดใจ

อุทิศ เหมะมูล เขียนถึงเพลง My City’s Gone ของ Francis and the Lights ล้อไปกับบรรยากาศเฉลิมฉลองปีใหม่ ในเมืองที่หลอกล่อผู้คนด้วยแสงไฟ มีอากาศแต่ไม่มีลมหายใจ และตกอยู่ในอำนาจเถื่อนมาเกือบ 5 ปี

อุทิศ เหมะมูล

9 Jan 2019

People

9 Jan 2019

ฟื้นความหลัง เรื่อง ‘เสฐียรโกเศศ’

กษิดิศ อนันทนาธร เรียบเรียงการเสวนาในงาน 130 ปี พระยาอนุมานราชธน และวาระครบรอบ 50 ปีของห้องสมุดอนุมานราชธน ที่ได้ ส. ศิวรักษ์มาร่วมพูดคุย เล่าถึงเรื่องราวของ ‘เสฐียรโกเศศ’ หรือ ‘พระยาอนุมานราชธน’ อดีตอธิบดีกรมศิลปากร ผู้แปลกามนิต-วาสิฏฐี และได้รับการประกาศยกย่องให้เป็นบุคคลสำคัญของโลกจาก UNESCO

กษิดิศ อนันทนาธร

9 Jan 2019

Film & Music

9 Jan 2019

อันเป็นที่รัก Roma

คอลัมน์ Deep Focus เดือนนี้ นราเขียนถึงหนังที่กำลังเป็นที่กล่าวถึง และได้รับการชื่นชมว่าเป็นหนังที่งดงามที่สุดเรื่องหนึ่ง นั่นคือ Roma อัลฟองโซ กัวรอน ผู้กำกับ ได้แรงบันดาลใจมาจากพี่เลี้ยงและสาวใช้ในวัยเด็ก ผู้เป็นต้นแบบของเกลโอ (ตัวเอกในเรื่อง) รวมทั้งการหวนย้อนกลับไปรำลึกถึงช่วงเวลาระหว่างปี 1970-1971 ที่เม็กซิโก ซึ่งเป็นความทรงจำที่ติดตรึงฝังใจของกัวรอน

นรา

9 Jan 2019
1 134 135 136 177

MOST READ

Phenomenon

2 May 2024

พ่อแม่แบบไหนเสียใจที่มีลูก

คอลัมน์ ‘Phenomenon’ สัปดาห์นี้ โตมร ศุขปรีชา พาคิดเรื่อง ‘ความเสียใจที่มีลูก’ ชวนมองย้อนไปถึงแรงกดดันจากสังคมซึ่งสัมพันธ์กับค่านิยมเรื่องสถาบันครอบครัว

โตมร ศุขปรีชา

2 May 2024

Life & Culture

18 Apr 2024

หลานม่า : ต้นไม้ เพดาน บ้าน ฮวงซุ้ย

วิวัฒน์ เลิศวิวัฒน์วงศา ชวนสำรวจความสัมพันธ์ของครอบครัวคนไทยเชื้อสายจีนใน ‘หลานม่า’ (2024) หนังที่ว่าด้วยหลานชายที่ต้องไปดูแลอาม่าผู้ป่วยเป็นมะเร็ง สิ่งที่ซุกซ่อนอยู่ใต้เส้นเรื่องที่ดูเหมือนจะคาดเดาได้ คือลำดับขั้นของความสัมพันธ์และบาดแผลที่ส่งต่อกันจากรุ่นสู่รุ่น

วิวัฒน์ เลิศวิวัฒน์วงศา

18 Apr 2024

Life & Culture

22 Apr 2024

‘หลานม่า’ มูลค่าแห่งความห่วงหาอาทร

ในความรักและเอาใจช่วย ‘หลานม่า’ (2024) หนังยาวของ พัฒน์ บุญนิธิพัฒน์ มากแค่ไหน แต่นักวิจารณ์ภาพยนตร์อย่าง ‘กัลปพฤกษ์’ ก็ยังอยากท้วงติงถึงความไม่สมบูรณ์บางอย่างของหนังอยู่ดี ไม่ว่าจะจากบทหรือการแสดงก็ตาม

‘กัลปพฤกษ์’

22 Apr 2024

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save